Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12809
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorช่อทิพย์ บรมธนรัตน์th_TH
dc.contributor.authorญษมณ ละทัยนิล, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-23T04:06:22Z-
dc.date.available2024-09-23T04:06:22Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12809en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล และความรอบรู้ด้านสุขภาพ (2) พฤติกรรมสุขภาพ 3อ2ส ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ สูบบุหรี่ สุรา (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมสุขภาพ และ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จังหวัดราชบุรี ประชากร คือ นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จังหวัดราชบุรี ระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ปีการศึกษา 2562 จำนวน 4,737 คน คำนวณตัวอย่างได้จำนวน 356 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่มีค่าความเที่ยงทั้งหมดเท่ากับ 0.71 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ไควสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 20.85 ปี กำลังศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รายได้ที่ได้รับเฉลี่ยต่อเดือน 4,965.17 บาท ไม่มีโรคประจำตัว มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติคือช่วง 18.50-22.99 กิโลกรัม/เมตร2 ความรอบรู้ด้านสุขภาพในภาพรวมของกลุ่มตัวอย่าง พบว่าอยู่ในระดับไม่ดี เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพ ด้านการเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ ด้านการสื่อสารข้อมูลสุขภาพ ด้านการจัดการตนเองเพื่อเสริมสร้างสุขภาพ อยู่ในระดับไม่ดี ส่วนด้านการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ และด้านการตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้อง อยู่ในระดับพอใช้ (2) พฤติกรรมสุขภาพ 3อ2ส ในภาพรวมอยู่ในระดับไม่ดี โดยเฉพาะพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกำลังกาย และด้านการจัดการทางอารมณ์ ส่วนพฤติกรรมด้านการสูบบุหรี่และดื่มสุราอยู่ในระดับพอใช้ (3) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ คณะที่กำลังศึกษา (X2=0.337) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน (r =- 0.114) และ (4) ความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r = 0.386)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสุขภาพและอนามัยth_TH
dc.subjectความรู้ทั่วไปth_TH
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพth_TH
dc.subjectนักศึกษาอุดมศึกษา--สุขภาพและอนามัยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--วิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.titleความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จังหวัดราชบุรีth_TH
dc.title.alternativeHealth literacy and health behaviors of students at Muban Chombueng Rajabhat University, Ratchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research: (1) to identify personal factors and health literacy; (2) to examine health behaviors 3Or2Sor, namely food, exercise, emotional management, smoking, and alcohol drinking; (3) to determine the relationship between personal factors and health behaviors; and (4) to determine the relationship between health literacy and health behaviors, of students at Muban Chombueng Rajabhat University, Ratchaburi province. The study was conducted in a sample of 356 students selected using stratified random sampling from all 4,737 undergraduate students in the regular program at the university. The research instrument was a Health Literacy and Health Behavior questionnaire with a reliability value of 0.71. Data were analyzed by using statistics, including frequency, percentage, mean, standard deviation, minimum, maximum value, chi-square test and Pearson's product-moment correlation coefficient. The results showed that, all 356 respondents: (1) most of them were female fourth-year students aged 20.85 years on average in the Faculty of Humanities and Social Sciences; had an average monthly allowance of 4,965.17 baht; had no underlying disease and had a normal BMI of 18.50–22.99 kilograms/meters2; their overall health literacy was at the poor level; as for individual aspects, their heath cognitive capacity, access to health information and services, health data communication, and self-management for health promotion were also at the poor level; but their media literacy and decision-making to select correct practices were at the fair level; (2) their overall health behaviors (3Or2Sor), especially food, exercise, and emotional management were at the poor level, while smoking and alcohol drinking habits were at the fair level; (3) their personal factors significantly correlated with health behaviors were the faculty in which they were studying (p < 0.05, χ2 = 0.337), monthly allowances (p < 0.05, r = -0.114); and (4) their overall health literacy had a significantly correlated with health behaviors (p < 0.05; r = 0.386)en_US
Appears in Collections:Science Tech - Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_163394.pdf19.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons