Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12835
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ช่อทิพย์ บรมธนรัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | จำนงค์ โพธิ์ทา, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-28T04:52:47Z | - |
dc.date.available | 2024-09-28T04:52:47Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12835 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะส่วนบุคคล ความรู้ การรับรู้เรื่องโรคไข้หวัดนก และแรงสนับสนุนทางสังคม (2) ความสำเร็จในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้หวัดนก อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะส่วนบุคคล ความรู้ การรับรู้เรื่องโรคไข้หวัดนก และแรงสนับสนุนทางสังคมกับความสำเร็จในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้หวัดนก อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี ประชากร คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 666 คน คำนวณได้จำนวนตัวอย่าง 218 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ที่มีค่าความเที่ยงระหว่าง 0.71-0.88 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง อายุ ระหว่าง 41-50 ปี สภาพสมรสคู่ ระดับการศึกษาชั้นประถมศึกษา อาชีพเกษตรกรรม ประสบการณ์ในการทำงาน 11-15 ปี รับผิดชอบจำนวนหลังคาที่รับผิดชอบ 11-15 หลังคาเรือน ความรู้เรื่องโรคไข้หวัดนกอยู่ใน ระดับปานกลาง การรับรู้เรื่องโรคไข้หวัดนกและแรงสนับสนุนทางสังคมอยู่ในระดับสูง (2) ความสำเร็จในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้หวัดนกอยู่ในระดับสูง และ (3) ปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคลด้านอายุและอาชีพมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้หวัดนก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ความรู้ทั่วไป เรื่องโรคและการรับรู้โอกาสเสี่ยงมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้หวัดนกในเชิงบวก ในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่แรงสนับสนุนทางสังคมไม่มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้หวัดนก ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขควรจัดอบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องโรคไข้หวัดนกให้ อสม. อย่างต่อเนื่อง และควรประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคไข้หวัดนก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ไข้หวัดนก--การป้องกันและการควบคุม | th_TH |
dc.subject | อาสาสมัครสาธารณสุข--ไทย--กาญจนบุรี | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการเฝ้าระวังป้องกันโรคและควบคุมโรคไข้หวัดนกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to success of avian influenza surveillance prevention and control of Village Health Volunteers in Huaikrachao District, Kanchanaburi Province | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this survey research were to study: (1) personal characteristics, knowledge, and perception of Avian Influenza and social support; (2) success of Avian Influenza surveillance, prevention and control in Huaikrachao district, Kanchanaburi province; and (3) relationship between personal characteristics, knowledge and perception of Avian Influenza, social support, and the success of Avian Influenza surveillance, prevention and control in Huaikrachao district, Kanchanaburi province. The study population was 666 village health volunteers (VHVs) in Huaikrachao district of Kanchanaburi province. A sample size of 218 VHVs was recruited by systematic random sampling technique. The research instrument was a questionnaire, with reliability values of between 0.71-0.88. Statistics used for data analyses were percentage, mean, standard deviation, Chi-square test and Pearson's product moment correlation coefficient. The results revealed that: (1) personal characteristics: the majority of a sample group were female, 41-50 years old, married status, finishing primary education, agriculturists, having working experiences of 11-15 years, and responsible for 11-15 households. Their knowledge about Avian Influenza was at a moderate level, while perception and the social support were at high levels; (2) success of Avian Influenza surveillance, prevention and control was at the high level; and (3) the factors related to the success of Avian Influenza surveillance, prevention and control, with a statistical significance, were personal factors of age and occupation. General knowledge about Avian Influenza and risk perception positively related, with statistical significance, to success of Avian Influenza surveillance, prevention and control at a low level, while no relationship was found between social support and success. Recommendations from this research were that a training of Avian influenza for VHVs by public health officers should be done continuously, and coordination with local administrative organizations, requesting support on budget allocation and equipment for Avian Influenza surveillance, prevention and control is strongly suggested. | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_148378.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License