Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12844
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา จันทร์คงth_TH
dc.contributor.authorนัสรียา สือมะ, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-30T07:21:42Z-
dc.date.available2024-09-30T07:21:42Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12844en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยด้านบุคคลและการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง (2) คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านบุคคล และการเห็นคุณค่าในตนเองกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง และ (4) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง ประชากรที่ศึกษาเป็นผู้สูงอายุ จำนวน 1,127 คน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุในอำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง จำนวน 287 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลก และแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการเห็นคุณค่าในตนเอง มีค่าความเที่ยงของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความสัมพันธ์แบบไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 69.60 ปี มีสถานภาพสมรสคู่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 3,788.85 บาท มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง และไม่ได้เป็นสมาชิกชมรม ส่วนการเห็นคุณค่าในตนเองอยู่ในระดับสูง (2) คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอยู่ในระดับปานกลาง โดยคุณภาพชีวิตด้านจิตใจอยู่ในระดับดี ส่วนด้านร่างกาย ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม และด้านสภาพแวดล้อมอยู่ในระดับปานกลาง (3) เพศ สถานภาพสมรส ภาวะสุขภาพ มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ แต่ระดับการศึกษา และการเป็นสมาชิกชมรมไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุส่วนอายุมีความสัมพันธ์เชิงลบในระดับต่ำกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ รายได้มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับต่ำกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ และการเห็นคุณค่าในตนเองมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูง กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ และ (4) ผู้สูงอายุได้เสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุด้านสุขภาพกาย ได้แก่ ออกกำลังกายเล็กๆน้อยๆ ด้านสุขภาพจิต ได้แก่ การไม่เครียด ด้านสังคม ได้แก่ การมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การจัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้น่าอยู่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้ป่วยเบาหวาน -- การดูแล -- คู่มือth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารสาธารณสุขth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนองth_TH
dc.title.alternativeQuality of life of seniors in Suksamran District, Ranong Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this cross-sectional research were to study: (1) personal characteristies and self-esteem of seniors in Suksamran district Ranong province; (2) quality of life of seniors in Suksamran district Ranong province; (3) relationship between personal characteristics and self-esteem with quality of life of seniors in Suksamran district Ranong province; and (4) to recommend the develop, ment life seniors quality of life in Suksamran district Ranong province. The study was conducted with 1,127 seniors in Suksamran district, Ranong province. A sample size of 287 seniors was recruited by systematic random sampling technique. An instrument for data collection was a questionnaire, comprised World Health Organization (WHO) questions for the quality of life and an interview part for self-esteem. A reliability of the questionnaire was 0.98. Statistics for data analyses were frequency, percentage, mean, standard deviation, Chi-square test and Pearson's product moment correlation coefficient. The findings showed that: (1) most seniors were female, 69.60 years old on average, married, finishing primary education, having a monthly income of 3,788.85 baht on average, healthy, not a member of any club, and having a high level of self-esteem; (2) quality of life of seniors was at a moderate level, with a high level on mental aspect, while physical, social relationship, and environmental aspects were all at moderate levels; (3) gender, marital status, health status related to quality of life of seniors, while no relationship was found from being a club member variable. Age negatively related to quality of life of senior at moderate level, while income and self-esteem positively related to quality of life of senior at low and high levels, respectively; and (4) recommendations to having good quality of life from seniors were that: having light exercise for physical aspect, being not stressed for mental aspect, having good relationship with others for social relationship aspect, and organizing good home environment for environmental aspect.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_148516.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons