Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12845
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมโภช รติโอฬารth_TH
dc.contributor.authorบัวลัย บางยาง, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-30T07:25:27Z-
dc.date.available2024-09-30T07:25:27Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12845en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ตำแหน่งงาน รายได้ต่อเดือน และระยะเวลาที่ปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอบางบัวทอง (2) ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลอำเภอบางบัวทอง และ (3) เปรียบเทียบความแตกต่างระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอบางบัวทอง ตามลักษณะปัจจัยส่วนบุคล ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี จำนวน 6 แห่ง จำนวน 946 คน คำนวณกลุ่มตัวอย่างและสุ่มอย่างง่ายได้จำนวน 281 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างด้วยค่าสถิติทีเทสต์ และสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลบางบัวทอง ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 35-44 ปี สถานภาพสมรส จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอายุการทำงาน 5-10 ปี ตำแหน่งงานส่วนใหญ่ คือ นักวิชาการ เจ้าหน้าที่บริหารและนิติกร มีรายได้ต่อเดือน 20,001-25,000 บาท เหตุผลที่เลือกทำงานเพราะใกล้บ้าน (2) ความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอบางบัวทองอยู่ในระดับปานกลาง และ (3) เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ตำแหน่งงาน รายได้ต่อเดือน และระยะเวลาที่ปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน มีปัจจัยจูงใจ ที่เป็นตัวกระตุ้นในการทำงานและปัจจัยค้ำจุนบำรุงรักษาจิตใจในการทำงานที่แตกต่างกัน อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุขth_TH
dc.titleความพึงพอใจในการปฎิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeJob satisfaction of personnel at subdistrict administrative organizations in Bang Bua Thong District, Nonthaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were: (1) to identify personal factors, including gender, age, educational background, marital status, job position, monthly income and years of service of personnel; (2) to determine the levels of job satisfaction of personnel related to motivation and maintenance factors; and (3) to compare personnel's levels of job satisfaction in relation to personal factors, all at subdistrict administrative organizations (SAOs) in Nonthaburi's Bang Bua Thong district. The study was conducted in a sample of 281 employees randomly selected from all 946 members of the workforce at six SAOs in the district. Data were collected using a questionnaire and the analyzed to determine frequency, percentage, and mean; and make comparisons using t-test and one way ANOVA. The results revealed that, among the respondents at the SAOs: (1) the majority were female, aged between 15-44 years, and married, had completed a bachelor's degree; had worked for 5-10 years as knowledge workers, administrative staff and legal officers, had a monthly income of 20,001-25,000 baht, and worked there because it is near their houses; (2) their job satisfaction levels were moderate; and (3) the differences in gender, age, education, marital status, job position, income and tenure were significantly related to their differences in motivation and maintenance factors (p= 0.05).en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161369.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.48 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons