Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12846
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ช่อทิพย์ บรมธนรัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | บุญประจักษ์ จันทร์วิน, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-30T07:29:43Z | - |
dc.date.available | 2024-09-30T07:29:43Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12846 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคล ปัจจัยสนับสนุนจากองค์กร แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน (2) ระดับการดำเนินงานตามมาตรฐานการเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา (3) ปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการดำเนินงานตามมาตรฐานการเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา และ (4) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานตามมาตรฐานการเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยาของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดนครศรีธรรมราช ประชากรที่ศึกษาคือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ได้รับมอบหมายรับผิดชอบงานระบาดวิทยาประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน253 คน คำนวณตัวอย่างได้จำนวนตัวอย่าง 153 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงของปัจจัย สนับสนุนจากองค์กร แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และการดำเนินงานตามมาตรฐาน อยู่ระหว่าง 0.91-0.96 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ แบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 39.7 ปี สถานภาพสมรสคู่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า อายุราชการเฉลี่ย 18.8 ปี ระยะเวลารับผิดชอบงานระบาดวิทยา เฉลี่ย 10.6 ปี เคยได้รับการอบรมงานระบาดวิทยามากกว่า 2 ปี ปัจจัยสนับสนุนจากองค์กรในภาพรวม ด้านบุคลากร และด้านงบประมาณ อยู่ในระดับปานกลาง ด้านวัสดุอุปกรณ์ และการบริหารจัดการอยู่ในระดับสูง แรงจูงใจในการปฏิบัติงานในภาพรวมและปัจจัยค้ำจุนอยู่ในระดับปานกลางปัจจัยจูงใจอยู่ในระดับสูง (2) การดำเนินตามมาตรฐานการเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยาของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และรายด้านอยู่ในระดับสูง ยกเว้น ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายอยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงานตามมาตรฐานการเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 คือ ปัจจัยค้ำจุนด้านนโยบายและการบริหารงาน ปัจจัยสนับสนุนจากองค์กรด้านวัสดุอุปกรณ์ และปัจจัยจูงใจในภาพรวมตามลำดับ โดยมีอำนาจการทำนาย ร้อยละ 62.6 และ (4) ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญ คือ เจ้าหน้าที่ไม่ได้อบรมฟื้นฟูทักษะ ด้านการสอบสวนโรค ขาดการทำงานเป็นทีม และการจัดสรรงบประมาณล่าช้า ข้อเสนอแนะต่อผู้บริหารสาธารณสุข ระดับจังหวัด ควรจัดให้มีการอบรมฟื้นฟูวิชาการ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง สร้างสัมพันธภาพและพัฒนาทีม และเร่งรัดการจัดสรรงบประมาณ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การเฝ้าระวังโรค | th_TH |
dc.subject | ระบาดวิทยา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ -- บริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงานตามมาตรฐานการเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยาของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดนครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting standard epidemiological surveillance performance of public health personnel at Sub-district health promoting hospitals in Nakhon Si Thammarat Province | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this survey research were to study: (1) factors of personal characteristics, organizational support, and job motivation; (2) level of standard epidemiological surveillance performance; (3) factors affecting epidemiological surveillance performance standard; and (4) problems, obstacles and suggestions of standard epidemiological surveillance performance of public health personnel at sub-district health promoting hospitals in Nakhon Si Thammarat Province. The study population were 253 public health personnel, who were in charge of epidemiological surveillance performance standard at sub-district health promoting hospitals. A sample size of 153 personnel was recruited by systemic random sampling technique. Data were collected by a questionnaire, with a reliability of 0.91 - 0.96. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results revealed that: (1) the majority of samples were female, with average age of 39.7 years, married, having bachelor's degree or equivalent , having average official age of 18.8 years, average working experiences of 10.6 years, received training over two years. Regarding organizational support factor, the overall, human resources, and budget aspects were at a moderate level, while the material and administration aspects were at a high level. The overall job motivation and hygiene factors were at a moderate level, while the motivating factors were at a high level; (2) the epidemiological surveillance performance standard of public health personnel, the overall and all aspects were at a high level, excepting data analysis and interpretation aspect was at a moderate level; (3) factors affecting standard epidemiological surveillance performance at a significant level of 0.05 were the hygiene factors of policy and administration aspect, the organizational support factor of materials and motivation aspects, and the overall motivation factors, respectively, with a predictive power of 62.6 percent; and (4) the main problems and obstacles included untrained personnel to refresh the investigation of disease skills, lacked team working, and delayed budget allocation. Recommendations for the provincial health administrators were that there should be a training on academic review at least once a year, team and relationship building, and accelerating on budget allocation. | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_146053.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License