Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12849
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ช่อทิพย์ บรมธนรัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | ปทุมทิพย์ สุ่มมาตย์, 2515- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-30T07:42:50Z | - |
dc.date.available | 2024-09-30T07:42:50Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12849 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล และการเสริมพลังอำนาจในงาน (2)ระดับสมรรถนะประจำกลุ่มงานของนักวิชาการสาธารณสุข (3) ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะประจำกลุ่มงานของนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในจังหวัดร้อยเอ็ด และ (4) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสมรรถนะประจำกลุ่มงานของนักวิชาการสาธารณสุขตำบล ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 245 คน คำนวณตัวอย่างได้ จำนวน 153 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ บบสอบถาม ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 47.79 ปีสถานภาพสมรสคู่ จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี ได้รับเงินเดือนเฉลี่ย 37,905.03 บาทต่อเดือน ระยะเวลาการปฏิบัติงานในตำแหน่งเฉลี่ย 8.63 ปี การเสริมพลังอำนาจในงานภาพรวม และรายด้าน การได้รับข้อมูลข่าวสาร การได้รับการสนับสนุน และการได้รับโอกาส อยู่ระดับสูง ยกเว้น ด้านการได้รับทรัพยากรอยู่ระดับปานกลาง (2) สมรรถนะประจำกลุ่มงาน ในภาพรวมและรายด้านทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ การดำเนินงานเชิงรุก และการใส่ใจและพัฒนาผู้อื่น อยู่ระดับสูง (3) ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะประจำกลุ่มงานของนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือปัจจัยการเสริมพลังอำนาจในงานด้านการได้รับโอกาสและด้านการได้รับข้อมูลข่าวสาร (p= 0.000, 0.002 ตามลำดับ) โดยมีอำนาจการทำนายร้อยละ 35.0 และ(4) ปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับสมรรถนะประจำกลุ่มงานของนักวิชาการสาธารณสุขที่สำคัญ คือ เจ้าหน้าที่ขาดทักษะเรื่องการคิดวิเคราะห์ ข้อเสนอแนะ คือ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการควรพัฒนาบุคลากรในด้านเทคนิคและทักษะในการคิดเชิงระบบสามารถเชื่อมโยงสถานการณ์ได้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ -- การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข -- การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล -- ไทย -- ร้อยเอ็ด | th_TH |
dc.subject | สมรรถนะ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ -- บริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะประจำกลุ่มงานของนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในจังหวัดร้อยเอ็ด | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting the functional competencies of public health technical officers at professional level at Sub-district Health Promoting Hospitals in Roi Et Province | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this analytical study were: (1) to identify personal factors and work empowerment activities; (2) to determine competency levels; (3) to identify factors affecting functional competencies; and (4) to identify problems/obstacles and make suggestions for improving functional competencies, all involving public health technical officers (professional level) at sub-district (tambon) health promoting hospitals in Roi Et province. The study was conducted among a sample of 153 professional public health technical officers, selected using the systematic random sampling method from all 245 professional public health technical officers at sub-district health promoting hospitals in Roi Et province. The research instrument was a questionnaire with the reliability value for work empowerment of 0.94. Statistics used for data analysis were mean, percentage, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The results revealed that: (1) of all respondents, most of them were female and married; their mean age was 47.79 years; they mostly had a bachelor's degree, an average monthly income of 37,905.03 baht, and 8.63 years of work experience (on average); their overall work empowerment and specific aspects regarding the receipt of information, support and opportunities were at a high level, but moderate for resource allotment; (2) their overall functional competency and three specific aspects (analytical thinking, proactive implementation, and attention on colleagues' capacity building) were at a high level; (3) the factors significantly affecting their functional competencies were work empowerment regarding the receipts of opportunities and (p = 0.001 and 0.002, respectively); whose predictive power was 35%; and (4) the major problem/ obstacle was personnel's lack of analytical thinking skills. Thus, it is suggested that professional public health technical officers should develop their own technical capacity and skills in systemic thinking with situational linkages. | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_154877.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License