Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12866
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เยาวภา ติอัชสุวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | วรพรรณ ถมยา | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-10-01T04:20:56Z | - |
dc.date.available | 2024-10-01T04:20:56Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12866 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวแปรอิสระ คือ (1) ลักษณะส่วนบุคคล (2) ความรู้ที่ถูกต้องด้านทันตสุขภาพสำหรับเด็ก (3) ระดับความเชื่อมั่นในความสามารถในการดูแลทันตสุขภาพสำหรับเด็กตัวแปรตามคือ (4) การปฏิบัติทันตสุขภาพสำหรับเด็ก ของผู้ปกครองที่มีเด็กเล็กฟันไม่ผุและฟันผุ และ (5) ความ สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามประชากรที่ศึกษาคือ ผู้ปกครองของเด็กนักเรียนอนุบาลอายุ 5 ปี ในเขตเทศบาลตำบลหนองแค อำเภอหนองแค ใน พ.ศ. 2558 จำนวน 364 คน ขนาดตัวอย่าง 244 คน และสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายเป็นผู้ปกครองที่มีเด็กอายุ 5 ปีที่มีฟันไม่ผุ 87 คน และผู้ปกครองที่มีเด็กอายุ 5 ปีที่มีฟันผุ 157 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบบสอบถามความรู้มีค่าสัมประสิทธิ์สเปียร์แมนบราวน์ 0.489 แบบสอบถามความเชื่อมั่นในความสามารถ และแบบสอบถามการปฏิบัติทันตสุขภาพ มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.890 และ 0.536 ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยให้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง และได้รับแบบสอบถามกลับคืนทั้งหมด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่าผู้ปกครองที่มีเด็กฟันไม่ผุ และฟันผุ (1) มีลักษณะเหมือนกันคือ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 31-40 ปี เป็นพนักงานบริษัท รายได้ต่อเดือน 10,001-20,000 บาท สถานภาพสมรสคู่ มีความสัมพันธ์กับเด็กในฐานะบิดา-มารดา และมีเด็กจำนวน 2 คนในการดูแล มีลักษณะที่ต่างกันคือ ผู้ปกครองที่มีเด็ก ฟันไม่ผุมีการศึกษาสูงกว่าอนุปริญญา/ปวส. ผู้ปกครองที่มีเด็กฟันผุมีการศึกษาระดับมัธยมปลาย/ปวช. (2) ส่วนใหญ่มีความรู้ที่ถูกต้องด้านทันตสุขภาพสำหรับเด็กในระดับสูง และตอบให้เด็ก อายุที่ควรแปรงฟันซ้ำให้เด็กประโยชน์ของฟันน้ำนม อายุที่เด็กควรเลิกนมขวด การพาเด็กไปพบทันตแพทย์ (3) ส่วนใหญ่มีความเชื่อมั่นใน ความสามารถในการดูแลทันตสุขภาพสำหรับเด็กโดยรวมในระดับปานกลาง เกี่ยวกับการตรวจดูฟันผุให้เด็ก ห้ามเด็กดื่มน้ำอัดลม น้ำหวาน กินลูกอม จัดการให้เด็กกินขนมเป็นเวลา (4) ส่วนใหญ่มีการปฏิบัติทันตสุขภาพสำหรับเด็กในระดับปานกลาง และ (5) ไม่มีความสัมพันธ์กันระหว่างความรู้ ความเชื่อมั่นในความสามารถ และการ ปฏิบัติในการดูแลทันตสุขภาพสำหรับเด็ก ข้อเสนอแนะคือ ให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพสำหรับเด็กที่ถูกต้อง สอนเทคนิคการห้ามเด็กเล็กดื่มน้ำอัดลม น้ำหวาน กินลูกอม ขนมที่ไม่มีประโยชน์ เพื่อเพิ่มความมั่นใจในความสามารถของผู้ปกครอง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | เด็ก--การดูแลทันตสุขภาพ--การมีส่วนร่วมของบิดามารดา | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเชื่อมั่นในความสามารถของตนและการปฏิบัติในการดูแลทันตสุขภาพสำหรับเด็กของผู้ปกครองที่มีเด็กอายุ 5 ปีฟันไม่ผุและฟันผุในเขตเทศบาลหนองแค อำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between knowledge, self-efficacy and practice of dental health care of guardians with pre-school children possessed caries and caries free in Nongkhae Municipality, Nongkhae District, Saraburi Province | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this survey research were to study independent variables of: (1) personal characteristic factors; (2) correct knowledge on dental health for children; (3) self-efficacy level of dental health care for children; and dependent variable of: (4) dental health practice for children of guardians with children possessed caries and caries free; and (5) relationship between independent and dependent variables. The studied population was 364 guardians of 5-year pre-school children in Nongkhae Municipality, Nongkhae District, Saraburi Province. A total of 244 guardians of them were simple random sampled as 157 and 87 guardians with children possessed caries and caries free, respectively. The research tool used was a questionnaire on knowledge with Spearmen Brown coefficient of 0.489, self-efficacy level and dental health practice with Cronbach's Alpha coefficient of 0.890 and 0.536, respectively. Data were collected by the researcher with 100% returning rate. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, Chi-Square test and Pearson's correlation coefficient. The findings of this research were that: (1) the guardians with children possessed caries and caries free had similar characteristics. Most of them were female, age of 31-40 years, being company personnel, having monthly income of 10,001- 20,000 baht, married status, being their father and mother, and having 2 children under their dental health care. They had different characteristics on education level. The guardians possessed caries had education level of high school/professional certificate whereas those of caries free had education level higher than diploma/ high professional certificate; (2) most of the guardians had overall correct knowledge on dental health for children at the high level but false knowledge on children's starting age for teeth brushing, children's age for repeating of teeth brushing, advantages of deciduous teeth, children's age for avoiding drinking from milk bottle, and taking children for dentist visiting; (3) most guardians had overall self-efficacy level of dental health care for children at the moderate level on investigating caries for children, prohibiting children from carbonated drink, sweet drink, candy, and management of dessert serving at appropriate time; (4) most guardians had dental health practice for children at the moderate level; and (5) there were no relationship among knowledge, self-efficacy and practice of dental health for children. Suggestions were that correct knowledge on dental health for children and technique for prohibiting children from dinking carbonated drink, sweet drink, candy, junk dessert should be provided in order to promote self-efficacy of the guardians. | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_148381.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License