Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12873
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารยา ประเสริฐชัยth_TH
dc.contributor.authorศศิธร ธรรมชาติth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-10-01T04:55:44Z-
dc.date.available2024-10-01T04:55:44Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12873en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะส่วนบุคคลของสมาชิกกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ (2) การรับรู้ประโยชน์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ (3) การมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชน (4) การบริหารจัดการกองทุน (5) ผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางพลับ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และ (6) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยกับการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ สมาชิกกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางพลับ จำนวน 135 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม ความเที่ยงโดยหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคมีค่าระหว่าง 0.78-0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ไคสแควร์ และสถิติสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน ผลการศึกษาพบว่า (1) สมาชิกกองทุนหลักประกันสุขภาพส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีสถานภาพสมรส จบการศึกษาระดับประถมศึกษา และประกอบอาชีพผู้ใช้แรงงาน/รับจ้างทั่วไป (2) ส่วนใหญ่มีการรับรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ อยู่ในระดับมาก (3) การมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก (4) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพอยู่ในระดับมาก (5) ผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพอยู่ในระดับมาก และ(6) การรับรู้ประโยชน์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนปัจจัยด้านการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ มีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย คือ คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางพลับควรมีการพัฒนาด้านการประสานงาน ผ่านเวทีประชาคมของหมู่บ้านเพื่อให้สมาชิกกองทุนหลักประกันสุขภาพได้รับรู้และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพมีประสิทธิภาพมากขึ้นและตอบสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่อย่างแท้จริงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางพลับ- การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุขth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางพลับ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors associated with the performance of health insurance fund at Bang Phlap Municipality in Pak Kret District, Nonthaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were to study: (1) personal characteristics of members of the Health Insurance Fund (HIF); (2) perception of benefits from the HIF; (3) participation of the people and community; (4) administration of the HIF; (5) the performance of the HIF; and (6) relationship between the mentioned factors and the performance of the HIF at the Bang Phlap Subdistrict Municipality in Pak Kret District, Nonthaburi province. The study was 135 members of the municipality's HIF. The tool used for data collection was a questionnaire with Cronbach's alpha coefficient of 0.78-0.95. Data were analyzed to determine percentages, means, chi-square test, and Pearson correlation coefficient. The findings showed that: (1) most of the members were married females, had primary schooling, and worked as general workers; (2) most of them had the perception of benefits from the local fund at the high level; (3) the participation of most community members was at the high level; (4) the fund administration factors was at the high level; (5) the performance of the HIF was at the high level; and (6) the factors related to fund benefit perception, community participation and fund management were significantly associated with the fund performance. It is suggested that the HIF Committee should improve its coordinating mechanism through the community forum in order for all fund members would have a better perception of the fund and participate in the fund management. Consequently, the HIF management would be more efficient in responding to the needs of local residents.th_TH
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_148460.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons