Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเฉลิม จิ๋วสุข, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-10-07T03:49:41Z-
dc.date.available2024-10-07T03:49:41Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12899-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษระดับความเครียดในการทำงานของหัวหน้างานในบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ชลบุรี (2) ศึกษาความเห็นเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทำงานของหัวหน้างานในบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ชลบุรี (3) เปรียบเทียบระดับความเครียดในการทำงานของหัวหน้างานจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (4) ศึกษาปัจจัยสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ส่งผลต่อความเครียดในการทำงานของหัวหน้างานในบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ชลบุรี การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร ได้แก่ หัวหน้างานในบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ชลบุรี จำนวนทั้งหมด 30 คน ได้แก่ ผู้จัดการ ซุปเปอร์ไวเซอร์ และ ผู้ช่วยซุปเปอร์ไวเซอร์ และใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความเครียดในการทำงานของหัวหน้างานในบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ชลบุรี ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด 3 ลำดับ ได้แก่ นอนไม่หลับเพราะคิดมาก หรือกังวลใจ รู้สึกหงุดหงิดรำคาญใจ และมีความวุ่นวายใจ ตามลำดับ (2) สภาพแวดล้อมในการทำงานของหัวหน้างานในบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ชลบุรี ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณารายด้าน พบว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด 3 ลำดับ ได้แก่ ความปลอดภัย ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน และแนวทางและวิธีการทำงาน ตามลำดับ (3) หัวหน้างานที่มีอายุ สถานภาพสมรส แตกต่างกันมีความเครียดในการทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนหัวหน้างานที่มีเพศ ประสบการณ์การทำงาน วุฒิการศึกษา แตกต่างกัน มีความเครียดในการทำงานไม่แตกต่างกัน และ (4) ปัจจัยสภาพแวดล้อมในการทำงาน ได้แก่ ความปลอดภัย ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน แนวทางและวิธีการทำงาน และสภาพการทำงานมีผลต่อความเครียดในการทำงานของหัวหน้างานในบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ชลบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สามารถร่วมกันพยากรณ์การผันแปรของความเครียดในการทำงาน คิดเป็นร้อยละ 65.90th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความเครียดในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความเครียดในการทำงานของหัวหน้างานในบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeWork stress of supervisors at automotive parts manufacturing company in Amata City Industrial Estate Chonburien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the level of work stress of supervisors at an automobile parts manufacturing company in Amata City Industrial Estate in Chonburi Province; (2) to study the supervisors’ opinions on their work environment; (3) to compare the supervisors’ work stress, classified by personal factors; and (4) to study work environment factors that affect work stress of supervisors at an automobile parts manufacturing company in Amata City Industrial Estate in Chonburi Province. This study was survey research. The population was 30 supervisor-level employees of an automobile parts manufacturing company located in Amata City Industrial Estate in Chonburi Province, consisting of managers, supervisors and assistant supervisors. Data were collected from the entire study population. A data collection tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, ANOVA and multiple regression analysis. The results showed that (1) the overall average level of work stress of the survey respondents was at a medium level. When considering each aspect, three aspects that were given the highest scores were “unable to sleep because of worry and preoccupation”, “feeling annoyed and nervous”, and “tension”, respectively. (2) The supervisors’ overall opinions on their work environment were at a medium level. When considering each aspect, three aspects they were the most concerned were “safety”, “relationships with co-workers”, and “work methods and approaches”, respectively. (3) Supervisors with different ages and marital status had different levels of work stress with a statistically significant level of 0.05. No statistically significant correlations were found between level of work stress and the personal factors of gender, work experience, and educational level. (4) The work environment factors of “safety”, “relationships with co-workers”, “work methods and approaches”, and “work conditions” were associated with the work stress level of supervisors with a statistically significant level of 0.05 and could together predict 65.90% of the variation in work stress levelsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons