Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12903
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปัณณวิช ทัพภวิมลth_TH
dc.contributor.authorศิริกุล รัตนเสลานนท์, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-10-07T04:08:32Z-
dc.date.available2024-10-07T04:08:32Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12903en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความเป็นมา แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับอาสาสมัครคุมประพฤติและการคุมความประพฤติเด็กและเยาวชน (2) ศึกษาบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวกับงานอาสาสมัครคุมประพฤติและการคุมความประพฤติเด็กและเยาวชนของประเทศไทย สาธารณรัฐสิงคโปร์และประเทศญี่ปุ่น (3) วิเคราะห์เปรียบเทียบมาตรการทางกฎหมายในประเทศไทยกับสาธารณรัฐสิงคโปร์และประเทศญี่ปุ่นและ (4)เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับอาสาสมัครคุมประพฤติและการคุมประพฤติเด็กและเยาวชนในประเทศไทย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยจากเอกสาร ผู้ศึกษาได้ทำการศึกษารวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้องได้แก่ กฎหมายของประเทศไทย กฎหมาย ของต่างประเทศ ซึ่งได้แก่สาธารณรัฐสิงคโปร์และประเทศญี่ปุ่น รวมถึงหนังสือ บทความ วารสาร เอกสารทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และข้อมูลจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ ในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยวิเคราะห์จากข้อมูลที่ได้จากการวิจัยเอกสารข้างต้น เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะต่อไป ผลการศึกษาพบว่า (1) มีแนวคิดที่สำคัญว่าการปฏิบัติหน้าที่ของอาสาสมัครคุมประพฤติยังไม่คลอบคลุมทุกภารกิจ (2) กฎหมายของประเทศไทยและต่างประเทศซึ่งได้แก่ สาธารณรัฐสิงคโปร์ และประเทศญี่ปุ่นต่างก็มีกฎหมายที่ใช้ในเรื่องอาสาสมัครคุมประพฤติและการคุมประพฤติ (3) กฎหมายไทยโดยพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 ยังมีปัญหาหลายประการโดยเฉพาะอำนาจหน้าที่ของพนักงานคุมประพฤติ ที่ระบุเฉพาะเพิ่มเติมนอกเหนือจากพระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. 2559 โดยมีผู้ช่วยพนักงานคุมประพฤติ แต่ไม่ได้กำหนดให้มีอาสาสมัครคุมประพฤติ ดังเช่นพระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. 2559 อำนาจหน้าที่ในการติดตามเด็กและเยาวชนในคดีสำคัญภายหลังปล่อยคุมความประพฤติ และการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยเด็กและเยาวชนที่ถูกคุมความประพฤติตามพระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. 2559 (4) ข้อเสนอแนะให้แก้ไขระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยบทบาทและวิธีการปฏิบัติงานของอาสาสมัครคุมประพฤติและบทบาทของภาคประชาชน พ.ศ. 2560th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอาสาสมัครคุมประพฤติth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการพัฒนาบทบาทของอาสาสมัครคุมประพฤติและการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยของเด็กและเยาวชนth_TH
dc.title.alternativeRole development of Volunteer Probation Officer and preparation before release children and young offendersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research objected to (1) Study the background,concepts and theories related to probation and Volunteer Probation Officer ,and probation of children and youth;(2) To study the provisions of the law relating to probation and probation work for children and youth in Thailand Republic of Singapore and Japan (3) Comparative analysis of legal in Thailand with those of the Republic of Singapore and Japan, and (4) Suggesting guidelines for the development and improvement of law on probation and probation of children and youth in Thailand This independent study was a qualitative research using document-based research. Law of Thailand Laws of foreign countries which are the Republic of Singapore and Japan including books, articles,journal, academic papers, research papers, these and information from the internet both in Thailand and Laws of foreign countries As for the data analysis, the researcher analyzed the qualitive data by analyzing the data obtained from the research document above to make further recommendations .The results of the study found that (1) There was an important idea that the Volunteer Probation Officer’s performance of duties does not cover all mission (2)The laws of Thailand and foreign countries,which are The Republic of Singapore and Japan both have laws that apply to Volunteers Probation Officer and probation of children and youth (3)The Thai law under the Juvenile and Family Court Act and the Juvenile and Family Trail. Procedure B.E. more specific .In addition to the Probation Act B.E.2016,with an assistant probation officer.However probation volunteers are not required such as the Probation Act B.E.2016.Authority and duty to monitor children and youth in important cases after the release of probation and preparation before release of children and youth under probation the Probation Act B.E.2016 (4)Suggestions for amendment to the Ministry of Justice Regulations on Role and Procedures of Volunteer Probation Officer and Roles of People’s Sector B.E.2017.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons