Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12904
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกวลิน ต่อปัญญาชาญth_TH
dc.contributor.authorสานนท์ เลิศสุโภชวณิชย์, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-10-07T04:15:47Z-
dc.date.available2024-10-07T04:15:47Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12904en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความสำคัญและปัญหาเกี่ยวกับการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าพนักงานของรัฐต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ โดยศึกษาความเป็นมา แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินรวมถึงการศึกษากฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศเกี่ยวกับการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน และการตรวจสอบบัญชีเพื่อนำมาวิเคราะห์และเสนอแนะแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่เกี่ยวข้องกับการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน ถูกต้องเป็นธรรม และลดข้อจำกัดในการปฏิบัติอันจะทำให้มาตรการการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิธีการวิจัยเอกสารที่เป็นข้อมูลปฐมภูมิ เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติ ประมวลกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ คำสั่ง และคำพิพากษา และเอกสารที่เป็นข้อมูลทุติยภูมิ เช่น วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ รวมถึงบทความในเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่ากฎหมายไทยมีข้อจำกัดเกี่ยวกับการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของคู่สมรสของเจ้าพนักงานของรัฐที่ยังขาดความสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบันที่ยอมรับความหลากหลายทางเพศและการสมรสระหว่างบุคคลเพศเดียวกัน โดยเห็นควรเสนอแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้ครอบคลุมถึงกฎหมายเกี่ยวกับคู่ชีวิตอีกทั้งข้อจำกัดของการดำเนินคดีที่เกี่ยวข้องกับการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามโครงสร้างความรับผิดทางอาญาที่เห็นควรแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายเพื่อให้มีมาตรการบังคับแก่คู่สมรสเพื่อให้มีความตระหนักถึงความสำคัญของการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินอันจะต้องแสดงรายการที่ถูกต้องและครบถ้วนรวมถึงข้อจำกัดของระบบการตรวจสอบบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินซึ่งปัจจุบันกฎหมายกำหนดให้ผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายได้ตามหลักฐานการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในรอบปีภาษีที่ผ่านมาเท่านั้น แต่เป็นข้อมูลที่ไม่เพียงพอต่อการตรวจสอบให้มีประสิทธิภาพได้จึงจำเป็นต้องเสนอแนะแก้ไขกฎหมายโดยนำแนวทางการตรวจสอบรายได้ของต่างประเทศมาปรับปรุงใช้ให้เหมาะสมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการบัญชีสินทรัพย์--กฎหมายและระเบียนข้อบังคับth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561th_TH
dc.title.alternativeLegal problems related to the submission of assets and liabilities under the Organic Act on Anti-Corruption B.E. 2561en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to study the importance and problems about submission of assets and liabilities of state officials to the National Anti-Corruption Commission by studying the background, concepts and theories related to the submission of assets and liabilities including Thailand’s laws and foreign laws regarding submission of assets and liabilities and account audit to analyze and suggest amendments to the provisions of the Organic Act on Anti-Corruption related to the submission of assets and liabilities to be appropriate in accordance with the current social conditions, fairness and reduction of operational restrictions that will make asset and liability audit measures more effective. This independent study is qualitative research by using the documentary research technique of primary data documents such as the Constitution of the Kingdom of Thailand, Acts, Codes of law, Announcements, Regulations, Orders and Judgments, and secondary data such as theses, independent studies, as well as articles on related websites. The study found that Thai law has restrictions on the submission of assets and liabilities of spouses of state officials that are not accordance with the current social condition that accepts gender and sexual diversity and same sex marriage. It is advisable to propose amendments to the provisions of the law to cover the law relating to life partners; in addition, the limitation of proceeding regarding to submission of assets and liabilities under the criminal liability structure. It is deemed expedient to amend the provisions of the law to include measures to force the spouses to be aware of the importance of filing assets and liabilities accounts that must be accurate and complete including the limitations of the assets and liability audit system. Currently, the law requires those who have the duty to file an account showing income based on personal income tax evidence in the past tax year only. However, the information is not enough for effective inspection. Therefore, it is necessary to suggest amendments to the law by adopting guidelines for auditing from foreign countries to improve the audit appropriately.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons