Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12905
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถํ้าth_TH
dc.contributor.authorจิตพล เฉลยถ้อย, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-10-07T04:23:03Z-
dc.date.available2024-10-07T04:23:03Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12905en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงความเป็นมา แนวความคิด ทฤษฎีและวิวัฒนาการปัญหาเกี่ยวกับการขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลย โดยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) (2) ศึกษาการขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลย โดยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) ในประเทศไทยกับหลักกฎหมายของเครือรัฐออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา มลรัฐจอร์เจีย อังกฤษ (3) ศึกษาวิเคราะห์การขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลย โดยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) ตามกฎหมายไทยกับหลักกฎหมายของเครือรัฐออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา มลรัฐจอร์เจีย อังกฤษ (4) ศึกษาค้นคว้าหาแนวทางในการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลย โดยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) เพื่อให้ทราบถึงแนวทางการแก้ไขที่เหมาะสม และเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 108 มาตรา 110 หรือมาตรา 114 วรรคสอง และตามข้อบังคับของประธานศาลฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการเรียกประกันหรือหลักประกันในการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีอาญา ฉบับที่ 2 พ.ศ.2562 ข้อ 3 งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมายโดยการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิจัยจากเอกสารทางกฎหมายเกี่ยวกับการขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลย โดยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ตำรา บทความทางวิชาการ งานวิจัย คำพิพากษาของศาล และกฎหมายต่างประเทศ โดยผู้วิจัยทำการสังเคราะห์และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจากเนื้อหาที่ได้จากการวิจัยเอกสารและการทบทวนวรรณกรรม เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และตามข้อบังคับของประธานศาลฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการเรียกประกันหรือหลักประกันในการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีอาญา ฉบับที่ 2 พ.ศ.2562 ผลการศึกษาพบว่า (1) ตามแนวความคิด ทฤษฎีและวิวัฒนาการปัญหา กฎหมายให้การยอมรับการขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลยโดยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) เพื่อเป็นการให้ความคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพของผู้ต้องหาหรือจำเลยทางกฎหมายตามหลักสากล (2) กฎหมายไทยมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลยโดยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) แต่พบว่ายังมีปัญหาและข้อขัดข้องเกิดขึ้นจากการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) เช่น การใช้ดุลพินิจของศาล (3) เมื่อมีการเปรียบเทียบการขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลยโดยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) ตามกฎหมายไทยกับหลักกฎหมายของเครือรัฐออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา มลรัฐจอร์เจีย อังกฤษ พบว่ามีความแตกต่างกันหลายประการ เช่น กรณีประเทศไทยไม่มีหลักเกณฑ์ควบคุมการใช้ดุลพินิจของศาลในการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) กรณีประเทศไทยไม่มีข้อกฎหมาย ระเบียบ หรือหลักเกณฑ์ที่กำหนดเงื่อนไขการพิจารณาอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลยโดยการติดตั้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) ไว้อย่างชัดเจน กรณีความไม่เท่าเทียมกันในการปล่อยตัวชั่วคราวตามกฎหมายที่มีคำสั่งให้วางหลักประกันควบคู่กับการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) เนื่องจากประเทศไทยยังให้มีการวางหลักประกันควบคู่กับการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) และกรณีคุณภาพของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) ของประเทศไทยเมื่อทำการเปรียบเทียบกับของต่างประเทศแล้วพบว่า มีประสิทธิภาพไม่เทียบเท่ากับของต่างประเทศ (4) เสนอให้แก้ไขกฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลยโดยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) โดยการแก้ไขข้อกฎหมาย ระเบียบ หรือหลักเกณฑ์ที่มีความเหมาะสมกับตัวผู้ต้องหาหรือจำเลย ประเภทความผิด อัตราโทษ ให้ชัดเจนและเป็นไปตามเงื่อนไขของการพิจารณาอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลยโดยการติดตั้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM) เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการตีความและบังคับใช้กฎหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมมากขึ้นกับสถานการณ์ปัจจุบันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการปล่อยชั่วคราวth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลย โดยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (EM)th_TH
dc.title.alternativeBailing the accused or the defendant by using electronic monitoring (EM)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are (1) to study the background, concepts, theory and evolution of problems concerning the temporary release of the accused or defendant by using electronic devices (EM) (2) to study the request for temporary release of the accused or defendant by using electronic equipment (EM).in Thailand and the law of the Commonwealth of Australia, the United States, Georgia, England (3) to analyze the request for temporary release of the accused or defendant. By using electronic devices (EM) in accordance with Thai law and the Commonwealth of Australia law. United States of America, Georgia, England (4) to study and find ways to amend the law related to the request for temporary release of the accused or defendant. By using electronic equipment (EM) to know the appropriate solution. and suggest ways to improve the Criminal Procedure CodeSection 108, Section 110 or Section 114 paragraph two and in accordance with the regulations of the President of the Supreme Court concerning rules, procedures and conditions relating to demanding bail or security. In the provisional release of the accused or defendant ina criminal case, No. 2, 2019, Article 3 This research is a legal research by qualitative research. By researching legal documents about the request for temporary release of the accused or defendant. By using electronic devices (EM) in accordance with the provisions of the law, rules, regulations, textbooks, academic articles, research, court judgments. and foreign law. The researcher synthesized and analyzed qualitative data from the content obtained from research papers and literature reviews. to be used as a guideline for amending the Criminal Procedure Code and in accordance with the regulations of the President of the Supreme Court concerning rules, procedures and conditions relating to bail or collateral In the provisional release of the accused or defendant in the criminal case No. 2 B.E. 2562 The results of the study found that (1) the court's discretion in the use of electronic devices does not have a statutory regulation to provide standards and guidelines for discretionary use of electronic devices temporarily. According to the Criminal Procedure Code 110 (2) does not determine the appropriateness of the conditions for granting the temporary release of the accused or defendant by using electronic equipment (EM). (3) when comparing the request for temporary release of the accused or the defendant By using electronic devices (EM) according to Thai law and the laws of the Commonwealth of Australia, the United States, Georgia, England, there are many differences, for example, in the case of Thailand, there are no rules to control discretion. of the court in the use of electronic devices (EM) In the case of Thailand, there is no clear law, regulation or criteria that stipulates conditions for granting temporary release of accused or defendant by installing electronic devices (EM). with the use of electronic equipment (EM).It is clearly stated in the case of inequality in the provisional release under the law ordering to place collateral in conjunction with the use of electronic equipment (EM) because Thailand still has to place collateral in conjunction with the use of electronic equipment (EM) and quality cases Of electronic devices (EM) of Thailand, when compared to foreign ones, found that the efficiency is not comparable to foreign ones. (4) propose to amend the law Regulations related to the request for temporary release of the accused or defendant by using electronic devices (EM) by amending the laws, regulations or rules. that is suitable for the accused or the defendant Type of offense, penalty rate, clearly and in accordance with the conditions of Consideration of granting the temporary release of the accused or defendant by installing an electronic device (EM) in order to clarify the interpretation and enforce the law more effectively and appropriately in the current situation.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons