Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12907
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เกวลิน ต่อปัญญาชาญ | th_TH |
dc.contributor.author | นาทพล ดำสีไหม, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-10-07T06:58:28Z | - |
dc.date.available | 2024-10-07T06:58:28Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12907 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษา แนวคิด ทฤษฎี หลักการทางกฎหมายเกี่ยวกับระบบพิทักษ์คุณธรรมของคณะกรรมการกองทุนยุติธรรม (2) ศึกษามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับระบบพิทักษ์คุณธรรม ความตกลงระหว่างประเทศ กฎหมายต่างประเทศและกฎหมายไทยของคณะกรรมการกองทุนยุติธรรม (3) วิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายของไทยเกี่ยวกับระบบพิทักษ์คุณธรรมของคณะกรรมการกองทุนยุติธรรม (4) เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาทางกฎหมายของไทยเกี่ยวกับระบบพิทักษ์คุณธรรมของคณะกรรมการกองทุนยุติธรรม การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาจากเอกสารวิชาการ จากตำรากฎหมาย บทความทางวิชาการ งานวิจัยและผลงานทางวิชาการอื่นๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ โดยนำมาวิเคราะห์หาข้อสรุป เพื่อให้ได้ทราบถึงแนวคิด ทฤษฎี และมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับระบบพิทักษ์คุณธรรมของคณะกรรมการกองทุนยุติธรรม ผลการวิจัย พบว่า (1) มาตรการทางกฎหมายของไทยมีแนวทางการพิจารณาความอาญาและกลไกในการช่วยเหลือทางกฎหมายตามหลักและแนวปฏิบัติแห่งสหประชาชาติ โดยประชาชนทุกคนเข้าถึงความช่วยเหลือทางกฎหมายโดยไม่เลือกปฏิบัติ (2) การจัดตั้งผู้ใช้อำนาจหน้าที่ในคณะกรรมการบริหารกองทุนยุติธรรมไม่ได้มีการกำหนดคุณสมบัติความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายในสัดส่วนของคณะกรรมการกองทุนยุติธรรมเป็นการเฉพาะและกระบวนการอุทธรณ์มิได้นำระบบคุณธรรมมาใช้กับการบริหารงานเป็นการเฉพาะที่ชัดเจน เมื่อเทียบกับต่างประเทศ พบว่า ในประเทศสหราชอาณาจักรสหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย ได้นำระบบคุณธรรมมาใช้ในลักษณะเป็นการเฉพาะ เพื่อให้ได้รับการช่วยเหลือทางกฎหมาย อย่างเหมาะสม ไม่เลือกปฏิบัติ อีกทั้งในประเทศสหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกามีการปฏิรูประบบโครงสร้าง และบริหารงานบุคคลในหน่วยงานของรัฐบาลอย่างเป็นอิสระ เพื่อมิให้อำนาจอุปถัมภ์ทางการเมืองเข้ามาแทรกแซงได้ (3) ปัญหาทางกฎหมายของไทยเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายในระบบพิทักษ์คุณธรรมของคณะกรรมการกองทุนยุติธรรม มีโครงสร้างและความเชี่ยวชาญของคณะกรรมการกองทุนยุติธรรมที่ไม่สามารถสร้างหลักประกันในการรับรองคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนได้และกระบวนการอุทธรณ์ของคณะกรรมการกองทุนยุติธรรมขัดกับหลักความเป็นกลาง ส่งผลให้เกิดความไม่เป็นธรรม แก่ประชาชน และส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติราชการของข้าราชการและลูกจ้างในการดำเนินงานอีกด้วย (4) ผู้วิจัยเห็นควรแก้ไขเพิ่มเติม บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2558 กำหนดให้คณะกรรมการของสำนักงานกองทุนยุติธรรมจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และมีความเหมาะสม และเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ อย่างน้อย 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งหมด ควรปรับกระบวนการยุติธรรมทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ และเป็นธรรม โดยไม่เลือกปฏิบัติ รวมถึงให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้ โดยสะดวก รวดเร็ว ไม่เสียค่าใช้จ่ายสูง เกินสมควรและการใช้ระบบอุทธรณ์สองชั้นโดยให้ผู้บังคับบัญชาเป็นผู้กำกับดูแล หรือผู้ควบคุมการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เพื่อปกป้องคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐในกระบวนการยุติธรรมให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ โดยเคร่งครัด ปราศจากการแทรกแซง หรือครอบงำใด ๆ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ความช่วยเหลือทางกฎหมาย | th_TH |
dc.subject | กระบวนการยุติธรรมทางอาญา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.title | มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา : ศึกษากรณีคณะกรรมการกองทุนยุติธรรม | th_TH |
dc.title.alternative | Legal measure regarding the assistance in the process of criminal judgement : case study of the Justice Fund Committee | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent study are (1) the significant concepts, theories, and principles of the merit protection system of the Justice Fund Committee. (2) to study Thailand’s legislative measures, the internal agreements, the foreign laws relating to the merit protection system of the Justice Fund Committee, (3) to analyze the Thailand’s legislative problems relating to the merit protection system of the Justice Fund Committee, and (4) to suggest a solution guideline of the Thailand’s legislative problems relating to the merit protection system of the Justice Fund Committee. This independent study is a qualitative research. The study was conducted from academic papers, code of laws, academic articles, other academic researches and achievements both in Thai and foreign languages, and then taken for analyzing and deducing to recognize the legislative concepts, theories, and measures relating to the merit protection system of the Justice Fund Committee. The finding of the research results indicated that (1) the Thailand’s legislative measures have consisted of a criminal procedure guideline and a legislative assistance mechanism according to the United Nations’ principles and the regulations. All people access to the legislative assistance without discrimination. (2) However, in case of forming the persons who exercise their authorities in the Executive Board of Justice Fund, the legislative expertise qualifications in the proportion of the Justice Fund Committee have not been particularly determined, and the merit system has not been particularly and clearly applied with the administration in the appeal process. When compared with UK, USA and Australia, it was found that the merit system has been applied in the particular manners so that the legislative assistance has been appropriately acquired without discrimination. In addition, the structural system and personal management in the independent government agencies both in UK and USA have been reformed to avoid the intervention of political patronage power, (3) the Thailand’s legislative problems relating to the law enforcement in the merit protection system of the Justice Fund Committee have consisted of the failure of the structure and expertise of the Justice Fund Committee to create the security in affirming the people liberty and rights protection, and the conflict of the Justice Fund Committee’s appeal process with the principle of neutrality, resulting in injustice to people and affecting the government officers and employees’ efficiency and effectiveness in performing their official duties in operations, (4) the researcher deemed appropriate to revise the legislations of the Justice Fund Act B.E. 2558 (2015) prescribing at least 1/3 of all committee members of the Office of Justice Fund shall be the persons who are knowledgeable, competent and expert to be qualified and beneficial for their duty performance. The process of judgement should be adjusted to be efficient and justified without discrimination, and conveniently and rapidly accessible by people without too high expense payment. The two-stages appeal system shall be used by assigning the superior to govern or control the operations of the officers for protecting the government officers in the process of judgement to enable to strictly perform their duties without any interventions or dominations. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License