Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12916
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาวิน ชินะโชติ | th_TH |
dc.contributor.author | พิมพ์ชญา ศศิประพันธ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-10-08T07:28:02Z | - |
dc.date.available | 2024-10-08T07:28:02Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12916 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานบริษัท เอสเอ็มเอฟแอล ลิสซึ่ง (ประเทศไทย) จำกัด และ (2) เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์ และเจนเนอเรชั่นวาย ของบริษัทเอสเอ็มเอฟแอล ลิสซึ่ง (ประเทศไทย) จำกัด การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานในบริษัท เอสเอ็มเอฟแอล ลิสซึ่ง (ประเทศไทย) จำกัด จำนวน 83 คน ซึ่งได้แก่พนักงานกลุ่มอายุ 17-36 ปีหรือเจนเนอเรชั่นวาย และพนักงานกลุ่มอายุ 37-46 ปี หรือเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์ โดยศึกษาประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบผลต่างนัยสำคัญที่น้อยที่สุดเป็นรายคู่ ผลการศึกษาพบว่า (1) พนักงานส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก (X-3.46) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานได้รับความพึงพอใจมากที่สุด ( X-3.91) รองลงมาคือ ด้านความมั่นคง ( X-3.72) ส่วนด้านความก้าวหน้าได้รับความพึงพอใจน้อยที่สุด (X-2.96) และ (2) ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจในการทำงานของเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์และเจนเนอเรชั่นวายพบว่า มีความพึงพอใจในการทำงานไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | พนักงานบริษัทเอสเอ็มเอฟแอล ลิสซิ่ง--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | เปรียบเทียบความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์และเจอเนอเรชั่นวาย ของ บริษัท เอสเอ็มเอฟแอล ลิสซิ่ง (ประเทศไทย) จำกัด | th_TH |
dc.title.alternative | Comparative study of job satisfaction between generation X and generation Y employee of SMFL Leasing (Thailand) Company Limited | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were: (1) to study the level of job satisfaction of SMFL Leasing (Thailand) Company Limited’s employee; and (2) to compare the level of job satisfaction between Generation X employees and Generation Y employees of SMFL Leasing (Thailand) Company Limited. The study was a survey research. The total population was from SMFL Leasing (Thailand) Company Limited amount 83 employees, is to employee age between 17-36 years old or Generation Y and 37-46 years old or Generation X. The data collection was questionnaire, and analyzed using statistical tools including frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, One-Way ANOVA, and Least Significant Difference (LSD). The results of the study showed that: (1) overall the employee’s job satisfaction was at ‘high’ level ( X =3.46). The highest rank of level of job satisfaction were “Interpersonal relationship with colleagues” ( X =3.91) and “Job security” ( X =3.72) respectively while “Growth” ( X =2.96) was in the lowest rank of level of job satisfaction; and (2) Generation X employees and Generation Y employees had high level of job satisfaction which were the same level. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_157881.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License