Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12927
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภาth_TH
dc.contributor.authorกมลวร นีรนาทโกมลth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-10-09T03:22:37Z-
dc.date.available2024-10-09T03:22:37Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12927en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร บริษัท คอมพิวเตอร์ ซีสเท็ม คอนเน็คชั่น อินเตอร์แนชชั่นแนล จำกัด (2) ศึกษาปัจจัยแรงจูงใจและปัจจัยการเสริมแรงในการทำงานของบุคลากร บริษัท คอมพิวเตอร์ ซีสเท็ม คอนเน็คชั่น อินเตอร์แนชชั่นแนล จำกัด (3) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร บริษัท คอมพิวเตอร์ ซีสเท็ม คอนเน็คชั่น อินเตอร์ แนชชั่นแนล จำกัด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (4) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร บริษัท คอมพิวเตอร์ ซีสเท็ม คอนเน็คชั่น อินเตอร์แนชชั่นแนล จำกัด ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ บุคลากร บริษัท คอมพิวเตอร์ ซีสเท็ม คอนเน็คชั่น อินเตอร์แนชชั่นแนล จำกัด จำนวน 202 คน ใช้การคำนวณกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรของทาโร ยามาเน่ ได้ 135 ตัวอย่าง โดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิและการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการวิเคราะห์ ถดถอยเชิงพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) ประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร พบว่า ระดับประสิทธิภาพการทำงานอยู่ในระดับความเห็นด้วยมากที่สุด ได้แก่ การลดค่าใช้จ่าย การลดข้อผิดพลาด การลดเวลาในการปฏิบัติงาน และคุณภาพของงาน ตามลำดับ (2) ปัจจัยแรงจูงใจของบุคลากรในภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ปัจจัยจูงใจ และปัจจัยค้ำจุนอยู่ในระดับมาก ปัจจัยเสริมแรงอยู่ในระดับมาก(3) การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทำงาน พบว่า เพศ สถานภาพ การศึกษา รายได้ อายุงาน และระดับตำแหน่ง ที่แตกต่างกันมีระดับประสิทธิภาพการทำงานไม่แตกต่างกัน และพบว่า อายุที่แตกต่างกันมีระดับประสิทธิภาพการทำงานแตกต่างกัน เมื่อเปรียบเทียบรายคู่พบว่า มีความแตกต่างกันระหว่างอายุ 21-30 ปี กับอายุ 41-50ปี และอายุ 31-40 ปีกับอายุ 41-50 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 และ (4) การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานพบว่า ปัจจัยแรงจูงใจ และปัจจัยเสริมแรง ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานได้ร้อยละ 29 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสมรรถนะth_TH
dc.subjectพนักงานบริษัท--การทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร บริษัท คอมพิวเตอร์ ซีสเท็ม คอนเน็คชั่น อินเตอร์แนชชั่นแนล จำกัดth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting performance efficiency of personnel in Computer System Connection International Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study performance efficiency of the employees at Computer System Connection International Company Limited; (2) to study motivational factors and reinforcing factors of the employees at Computer System Connection International Company Limited; (3) to compare performance efficiency of the employees at Computer System Connection International Company Limited classified by personal factors; and (4) to study factors affecting performance efficiency of the employees at Computer System Connection International Company Limited. The study population consisted of 202 employees at Computer System Connection International Company Limited. The sample of 135 respondents calculated by Taro Yamane’s formula were employed for this study with stratified random sampling. The data collection tool was a questionnaire. The statistics used for data analysis were descriptive statistics include frequency, percentage, mean, standard deviation, and inferential statistics which include t-test, F-test and stepwise multiple regression analysis. The research results indicated that: (1) the performance level of personnel was found to be at the highest level: which were the reduction of cost, reducing errors reducing operating time and quality of work in sequence. (2) The motivational factors both motivation aspect and hygiene aspect including reinforcing factors were at high level of acceptance. (3) The comparison of the performance efficiency was found that the difference in gender, education, income, work experience, and position resulted in the indifferent performance efficiency. In addition, the difference in age while conducted multiple comparison resulted in the differences between the ages of 21-30 years and 41-50 years as well as 31-40 years and 41-50 years at a significance level of 0.05. (4) Factors affecting the performance of the employees at Computer System Connection International Company Limited were motivational factors and reinforcing factors. Which can predict the employee performance by 29% at a significance level of 0.05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_157866.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.47 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons