Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12932
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิทยาธร ท่อแก้วth_TH
dc.contributor.authorไพรัช โชติพันธ์, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-11-08T03:36:50Z-
dc.date.available2024-11-08T03:36:50Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12932-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสร้างภาพลักษณ์ของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยางอำเภอเมือง จังหวัดสกลนครเกี่ยวกับ 1) กระบวนการสร้างภาพลักษณ์ และ 2) แนวทางการพัฒนาการสร้างภาพลักษณ์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก เลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเจาะจงจากผู้ที่เกี่ยวข้องในการสื่อสารภาพลักษณ์ของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยางโดยตรง มาไม่น้อยกว่า 4 ปี รวมจำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการ สร้างข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่า 1) กระบวนการสร้างภาพลักษณ์ของนายกองค์การบริหารส่วนตำบล มี 4 ขั้นตอน คือ (1) การศึกษาภาพลักษณ์ในปัจจุบัน พบว่านายกองค์การบริหารส่วนตำบลมีการจัดแบ่งงานกันทำ มีความเด็ดขาด มีระเบียบวินัย และยึดมั่นในการทำเพื่อประโยชน์ส่วนรวม (2) การกําหนดภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์ของนายกองค์การบริหารส่วนตำบล คือ เป็น38ผู้นำเพื่อสังคม ผู้นำที่ตัดสินใจจากฐานข้อมูล ผู้นำที่ขับเคลื่อนองค์กรด้วยนวัตกรรม และเป็นผู้นำที่บริหารทาเลนต์ 38(3) การดำเนินการสื่อสารภาพลักษณ์มีนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นผู้ส่งสารหลัก โดยมีประเด็นสารหลัก คือ คุณลักษณะส่วนบุคคล กิจกรรมที่ดำเนินการ และผลงานของนายกองค์การบริหารส่วนตำบล ส่วนช่องทางการสื่อสารภาพลักษณ์ประกอบด้วยสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่ ผู้รับสารประกอบด้วยบุคลากรในองค์กร นักปกครองท้องที่ ผู้นำชุมชน และประชาชนในตำบล (4) การประเมินภาพลักษณ์พบว่านายกองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นบุคคลที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองและการบริหาร มีความมุ่งมั่นในการทำงาน เป็นบุคคลที่มีความน่าเชื่อถือ แสดงออกถึงความเป็นผู้นำยุค 4.0 มีเอกลักษณ์ด้านความตรงต่อเวลา เป็นผู้มีใจรักในงานบริการ ทำงานเพื่อสังคม พัฒนาสิ่งแวดล้อมในตำบล เป็นผู้มีช่องทางที่สามารถติดต่อได้สะดวกตลอด 24 ชั่วโมง มีกิจกรรมส่งเสริมความสามัคคีในตำบล เป็นคนที่เห็นแก่หมู่คณะ และเข้าถึงประชาชนในทุกพื้นที่ 2) แนวทางการพัฒนาการสร้างภาพลักษณ์นายกองค์การบริหารส่วนตำบล มี 2 ด้าน คือ (1) การพัฒนาด้านการกำหนดภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์ให้สอดคล้องตามกาลเวลาทั้งคุณลักษณะส่วนบุคคลที่เป็นคนติดดิน จริงจัง เอาใจใส่ ขยัน เข้าถึงปัญหา กล้าคิด กล้านำ กล้าเปลี่ยน ประสานงานเก่ง และมนุษยสัมพันธ์ดี และการสร้างผลงานในการบริหารการพัฒนาตำบลให้เจริญก้าวหน้า และพฤติกรรมทางสังคมในฐานะผู้นำที่ดี อ่อนน้อมถ่อมตน กล้าตัดสินใจ มีบารมี (2) การพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้นำ คือ จะต้องสื่อสารให้สั้น กระชับ มีวัตถุประสงค์ชัดเจน สื่อสารตรงประเด็น ใช้คำพูดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectภาพในความคิดth_TH
dc.titleการสร้างภาพลักษณ์ของนายกองค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง อําเภอเมือง จังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeImage creation of the chief executive of Huai Yang Sub-district Administrative Organization, Mueang District, Sakon Nakhon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to explore the following aspects of the image creation of the chief executive of Huai Yang Sub-district Administrative Organization (SAO), Mueang District, Sakon Nakhon Province, regarding: 1) image creation process; and 2) approaches to improving image creation. This was a qualitative research based on in-depth interviews. The twenty-two key informants were chosen by purposive sampling from among people who were directly involved with communicating the image of the chief executive of Huai Yang SAO for at least 4 years. The research tool was a semi-structured interview form. Data were analyzed deductively. The results showed that 1) the image-creation process comprised 4 steps (1) studying the present image – it was found that the SAO chief executive had an image of being able to divide up work, decisive, disciplined, and dedicated to the common good. (2) setting a desired image – a leader for society, fact-based decision maker, driving by innovation, talent leader. (3) image creation – the SAO chief executive was the primary message sender; the main messages were about the chief executive’s personal character, activities and work results; the communication channels included both new media and conventional media; the message receivers were SAO personnel, local administrators, community leaders and local residents. (4) Evaluation – it was found that the chief executive had an image of having high political and management ideals, being diligent and determined, trustworthy, exhibiting the qualities of a generation 4.0 leader, always punctual, loving administrative work, working for the good of society, developing the environment in the sub-district, easy to contact 24 hours a day, promoting activities to build unity in the community, thinking about others, and approachable for everyone. 2) Approaches to improve image creation were divided into 2 areas: (1) developing and updating the definition of the desired image to fit the times, such as emphasizing the personal characteristics of being humble, sincere, attentive, hardworking, understanding problems, daring to think, daring to lead, daring to change, good at coordinating, good human relations, creating work results to develop and advance the sub-district, with appropriate social behavior befitting of a leader, unpretentious, decisive, and virtuous. (2) developing leadership communication skills, that is, being able to speak concisely, briefly, to the point, with clear messages and communication objectives, able to use analogies and impactful words to persuade people, and being a listener more than a speaker.en_US
dc.contributor.coadvisorกานต์ บุญศิริth_TH
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons