Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12936
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาภรณ์ ศรีดีth_TH
dc.contributor.authorเรืองศักดิ์ ใครบุตร, 2498-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-11-08T06:57:50Z-
dc.date.available2024-11-08T06:57:50Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12936-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กระบวนการสื่อสารในการรณรงค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2) กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ของชุมชนพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลโนนหอม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนครการวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกกึงโครงสร้าง เลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเจาะจง จากผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการสื่อสารรณรงค์ในประเด็นและพื้นที่ดังกล่าว ประกอบด้วย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโนนหอม ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลโนนหอม พยาบาลผู้รับผิดชอบงานโรคเรื้อรังในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลโนนหอม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน รวมทั้งหมด 26 คนและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการสร้างข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่า 1) กระบวนการสื่อสารในการรณรงค์ ประกอบด้วย (1) ผู้ส่งสาร กลุ่มผู้บริหารคือ นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กลุ่มผู้ปฏิบัติงาน คือ พยาบาลรับผิดชอบงานโรคเรื้อรัง อาสาสมัครสาธารณสุข และกลุ่มประชาชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยง (2) สาร คือ การแจ้งนโยบาย การให้คำปรึกษา การให้แนวทางการปฏิบัติงานและให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคการอบรมให้ความรู้ ให้คำปรึกษาสุขภาพ ข้อมูลเกี่ยวกับโรค (3) ช่องทาง คือ หนังสือสั่งการ หนังสือราชการการแจ้งแนวทางการปฏิบัติงาน ประชุมปรึกษาหารือ บอร์ดประชาสัมพันธ์ข่าวสารหมู่บ้าน การประชุมปรึกษาหารือในกลุ่มย่อย คู่มือ เอกสารแผ่นพับความรู้ โทรศัพท์แจ้งข่าว หอกระจายข่าวหมู่บ้าน (4) ผู้รับสารคืออาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนกลุ่ม และประชาชนทั่วไป และพบว่า การสื่อสารผ่านตัวบุคคลหรือสื่อบุคคลเป็นการสื่อสารที่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยงชื่นชอบมากที่สุด 2) กลยุทธ์การสื่อสาร ประกอบด้วย (1) กลยุทธ์การสร้างกระแสสังคมโดยการจัดมหกรรมสุขภาพเพื่อสร้างความตระหนักให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) กลยุทธ์การใช้สื่อบุคคล โดยใช้ผู้ป่วยเบาหวานในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและใช้อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง (3) กลยุทธ์การกำหนดนโยบายแผนงานลงสู่ประชาชน ได้แก่ การสร้างกระแสสังคม การพัฒนาศักยภาพชุมชน การเน้นพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุข การออกคัดกรองสุขภาพเชิงรุก และการจัดตั้งธรรมนูญสุขภาพตำบลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการสื่อสารความเสี่ยงด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectการสื่อสารทางการแพทย์th_TH
dc.subjectเบาหวาน--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectการปรับพฤติกรรมth_TH
dc.titleการสื่อสารในการรณรงค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ของชุมชนพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลโนนหอม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeCommunication strategies in a behavior modification campaign to reduce the rate of New diabetes patients in Non Hom Sub-district, Mueang District, Sakon Nakhon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the process of communication in a behavior modification campaign to reduce the rate of new diabetes patients in Non Hom Sub-district, Mueang District, Sakon Nakhon Province; and 2) the communication strategies used in the campaign. This was a qualitative research based on in-depth interviews. Using a semi-structured interview form. Key informants were selected through purposive sampling from among people who played an important role in communications for the behavior modification campaign, comprising the chairman of Non Hom Sub-district Administrative Organization, the director of the Non Hom Sub-district Health Promotion Hospital, nurses in charge of chronic diseases, neighborhood public health volunteers, and local residents at risk of developing diabetes, for a total of 26 key informants. Data were analyzed to draw conclusion. The results showed that 1) the communication process consisted of (a) the message senders, comprised of administrators (the chairman and permanent secretary of the Sub-district Administrative Organization and the director of the Sub-district Health Promotion Hospital) and operations-level personnel (nurses in charge of chronic diseases, neighborhood public health volunteers, and local residents); (b) the messages, consisted of public health policies, advice on preventing diabetes, practical work advice, specific information about diabetes, training and knowledge, health consultation, and disease information; (c) the media, consisted of written work orders, official documents, work guideline announcements, consultation meetings, neighborhood bulletin boards, subgroup meetings, handbooks, pamphlets, telephone calls, and public address announcements; and (d) the message receivers, consisted of neighborhood public health volunteers, target groups of local residents and the general public. It was found that personal communications was the medium that the message receivers liked the most. 2) The communication strategies were (a) trying to set social trends by organizing wellness fairs or activities to raise awareness and change the behavior of at-risk groups; (b) utilizing personal media by getting diabetes patients to tell about their experiences and how they changed their behavior and mobilizing neighborhood public health volunteers to provide care and information to at-risk individuals; and (c) setting policies and action plans to reach the target groups by setting social trends, developing the capacity of communities, developing neighborhood public health volunteers, aggressive health screening, and writing up sub-district wellness pacts.en_US
dc.contributor.coadvisorหัสพร ทองแดงth_TH
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons