Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12937
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิยฉัตร ล้อมชวการ | th_TH |
dc.contributor.author | ศรวัสย์ สมสวัสดิ์, 2522- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-11-08T07:11:25Z | - |
dc.date.available | 2024-11-08T07:11:25Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12937 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (การบูรณาการการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2565 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการใช้สื่อเฟซบุ๊กของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 2) การรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊กของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้สื่อเฟซบุ๊กกับการรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊กของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ด้วยวิธีการสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ชั้นปีที่ 1-4 เฉพาะที่ใช้งานสื่อเฟซบุ๊ก โดยใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 400 คนเครื่องมือในการวิจัยคือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการใช้สื่อเฟซบุ๊กของกลุ่มตัวอย่างมีการใช้ทุกวัน ระยะเวลาการใช้เฉลี่ย 4-5 ชั่วโมงต่อวัน เวลาที่ใช้ประมาณช่วง 18.01-21.00 น. และในช่วงเวลาก่อนนอน สถานที่ที่ใช้มากที่สุด คือ ใช้ที่บ้าน วัตถุประสงค์ใช้ในการติดต่อสื่อสาร การศึกษา การเรียนการสอน โดยกลุ่มเพื่อนมีอิทธิพลในการใช้สื่อเฟซบุ๊กมากที่สุด2) การรู้เท่าทันสื่อสื่อเฟซบุ๊ก ได้แก่ ทักษะการวิเคราะห์ กลุ่มตัวอย่างสามารถวิเคราะห์และไตร่ตรองอย่างรอบด้านก่อนที่จะโพสต์แสดงความคิดเห็นในข้อเสนอแนะหรือวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับเนื้อหาต่างๆ ในสื่อเฟซบุ๊กได้อย่างเหมาะสม และทักษะการประเมินเนื้อหาสารกลุ่มตัวอย่างสามารถใช้ประสบการณ์ในการพิจารณาข้อมูลที่ได้รับก่อนกดถูกใจ หรือส่งต่อให้ผู้อื่นรองลงมา ได้แก่ ทักษะการเข้าถึง กลุ่มตัวอย่างสามารถเลือกใช้สื่อเฟซบุ๊กเพื่อเข้าถึงเนื้อหาต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ทักษะการมีส่วนร่วม กลุ่มตัวอย่างสามารถพูดคุยกับผู้อื่นผ่านสื่อเฟซบุ๊กในเชิงที่สร้างสรรค์และทักษะการสร้างสรรค์ กลุ่มตัวอย่างสามารถนำเสนอเนื้อหาต่างๆ ในสื่อเฟซบุ๊กบนพื้นฐานของความรับผิดชอบและจริยธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามลำดับ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้สื่อเฟซบุ๊กกับการรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊ก พบว่า ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างระดับความบ่อยมีความสัมพันธ์กับการรับรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และพบว่าระยะเวลา ช่วงเวลา สถานที่วัตถุประสงค์ ในการใช้สื่อเฟซบุ๊กไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊ก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การรู้เท่าทันสื่อ | th_TH |
dc.subject | การรู้เท่าทันสื่ออินเทอร์เน็ต | th_TH |
dc.subject | เฟซบุ๊ค | th_TH |
dc.title | การรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊กของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Facebook literacy of Chiang Mai Rajabhat University students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) Facebook usage behavior of students at Chiang Mai Rajabhat University; 2) the level of Facebook literacy of students at Chiang Mai Rajabhat University; and 3) the relationship between Facebook usage behavior and level of Facebook literacy among the sample students. This was a survey research. The sample was students enrolled in years 1 – 4 at Chiang Mai Rajabhat University who used Facebook application. A total of 400 students were selected by using multi-stages sampling technique. The research tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson’s correlated coefficient. The results showed that 1) the sample used Facebook every day, usually for approximately 4-5 hours a day, most often at 18.01-21.00 and before going to bed. The place they most used Facebook was at home and their most common objectives in using Facebook were for communication, education and research. The most influenced people on their Facebook usage were their friends; 2) for Facebook literacy, in the aspect of analysis skills, all of the sample were able to analyze and carefully deliberate before posting, commenting or critiquing on any content on Facebook in an appropriate way. For content evaluation skills, the sample used their experience to consider all information before clicking “like” or sharing content. For skills in accessing information, most of the sample were able to choose Facebook in accessing all kinds of contents in an appropriate way. For participation skills, most of the sample were able to communicate and interact with others through Facebook in a constructive way. As for creative skills, the sample can present their content on Facebook in a responsible, ethical and efficient way; and 3) for the relationship between Facebook usage behavior and Facebook literacy, the correlation coefficients showed that frequency of using Facebook was correlated to level of Facebook literacy to a statistically significant degree at 0.01 except some factors of usage duration, time of day, location of using Facebook and objectives for using Facebook were not correlated to Facebook literacy | en_US |
dc.contributor.coadvisor | กมลรัฐ อินทรทัศน์ | th_TH |
Appears in Collections: | Comm-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License