Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12947
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | จิตสุภา ฤกษ์อำนวยชัย, 2534- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-11-15T02:47:17Z | - |
dc.date.available | 2024-11-15T02:47:17Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12947 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม (วิทยาศาสตร์ศึกษา))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์หลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์กับแบบปกติ 2) เปรียบเทียบสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์กับแบบปกติ 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียน และ 4) เปรียบเทียบสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ กรุงเทพมหานคร ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 2 ห้องเรียน รวม 66 คน แล้วจับฉลากห้องเรียนเป็นกลุ่มทดลอง 34 คน และกลุ่มควบคุม 32 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี และแผนการจัดการเรียนรู้รูปแบบปกติ 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี และ 3) แบบวัดสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์และแบบปกติไม่แตกต่างกัน 2) สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ มีคะแนนสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ กรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of instruction emphasizing on scientific competencies in the topic of chemical reaction on scientific learning achievement and scientific competencies of grade 9 students at Setthabut Bamphen School in Bangkok Metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to 1) compare science learning achievement after learning of grade 9 students who learned through instruction emphasizing on scientific competencies with that of students who learned through the traditional instruction; 2) compare scientific competencies of grade 9 students who learned through instruction emphasizing on scientific competencies with that of students who learned through the traditional instruction; 3) compare the pre-science learning achievement of grade 9 students who learned through instruction emphasizing on scientific competencies with their post-learning; and 4) compare the pre-learning scientific competencies of the students who learned through instruction emphasizing on scientific competencies with their post-learning. The research sample consisted of 66 grade 9 students in two intact classrooms of Setthabut Bamphen school in Bangkok Metropolis, obtained by cluster random sampling. Then, one class consisted of 34 students was randomly assigned as the experimental group; while the other class consisted of 32 students was assigned as the control group. The instruments used in this research were 1) instructional plans emphasizing on scientific competencies in the topic of chemical reaction and traditional instructional plans; 2) a science learning achievement test in the topic of chemical reaction; and 3) a scale to assess scientific competencies. Statics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that 1) the post-science learning achievement of students who learned through instruction emphasizing on scientific competencies and the achievement of the students who learned through the traditional instruction were not significantly different; 2) Scientific competencies of the students who learned through instruction emphasizing on scientific competencies were significantly higher than the scientific competencies of the students who learned through the traditional learning achievement at the .05 level of statistical significance; 3) the post-science learning achievement of the students who learned through instruction emphasizing on scientific competencies was significantly higher than their pre-learning at the .05 level of statistical significance, and 4) The post-learning scientific competencies of the students who learned through instruction emphasizing on scientific competencies was significantly higher than their pre-learning at the .05 level of statistical significance | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ดวงเดือน สุวรรณจินดา | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License