Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12959
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บำเพ็ญ เขียวหวาน | th_TH |
dc.contributor.author | ชริดา แก้วรัตนะ, 2536- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T02:36:43Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T02:36:43Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12959 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา 1) ความรู้และแหล่งความรู้ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรและเกษตรกร 2) การวางแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลและระดับความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 3) ระดับการมีส่วนร่วมและความคิดเห็นของเกษตรกรในการวางแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในการวางแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล และ 5) ความต้องการในการพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในการวางแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอในจังหวัดพัทลุงจำนวน 52 คน ทำการเก็บข้อมูลทั้งหมดโดยใช้แบบสอบถาม 2) เกษตรกรที่เป็นคณะกรรมการบริหารศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล และอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน ทั้ง 65 ตำบล ของจังหวัดพัทลุงในปี พ.ศ. 2565 จำนวนทั้งสิ้น 1,202 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากเกษตรกรตำบลละ 2 คน รวมจำนวน 130 คนโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย และทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ และ 3) คัดเลือกตัวแทนเจ้าหน้าที่และเกษตรกรแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 22 คน เพื่อทำการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดอันดับ ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพ วิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เนื้อหาและจัดหมวดหมู่ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า 1) ความรู้ของเจ้าหน้าที่และเกษตรกรอยู่ในระดับมากและได้รับความรู้จากแหล่งความรู้ที่เป็นสื่อกิจกรรมมากที่สุด 2) เจ้าหน้าที่มีการปฏิบัติตามกระบวนการจัดทำแผนการเกษตรระดับตำบลร้อยละ 78.8-100 และมีความคิดเห็นต่อขั้นตอนการวางแผนการเกษตรระดับตำบลในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) เกษตรกรมีส่วนร่วมในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางและมีความคิดเห็นในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 4) ปัญหาของเจ้าหน้าที่ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางและเห็นด้วยกับข้อเสนอแนะในภาพรวมอยู่ในระดับมากและ 5) เจ้าหน้าที่มีความต้องการในการพัฒนาศักยภาพในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยอยู่ในขั้นตอนการกำหนดทิศทางและเป้าหมายการพัฒนามากที่สุด และมีข้อเสนอแนวทางในการพัฒนาศักยภาพ 4 ด้าน คือด้านกระบวนการวางแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล ด้านบุคคล ด้านการได้รับการสนับสนุน และด้านอื่น ๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การวางแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลเกิดประสิทธิภาพ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การพัฒนากำลังคน | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาบุคลากร | th_TH |
dc.title | การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในการวางแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลในจังหวัดพัทลุง | th_TH |
dc.title.alternative | The potential development for agricultural extension officers in sub-district agricultural development planning in Phatthalung Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) knowledge and knowledge resource of the agricultural extension officers and farmers 2) the sub-district agricultural development planning and opinions level of the agricultural extension officers 3) participation level and opinions of farmers in sub-district agricultural development planning 4) problems and suggestions of the agricultural extension officers in sub-district agricultural development planning and 5) needs in potential development of the agricultural extension officers in sub-district agricultural development planning. The population of this research included 1) 52 agricultural extension officers from district agricultural offices in Phatthalung province. Data were collected from the entire population by using questionnaires 2) 1,202 farmers who are committees of service center and sub-district agricultural technology and agricultural volunteers in 65 sub-districts, Phatthalung province in 2022. The sample size was determined by 2 farmers from each sub-district, 130 farmers using simple random sampling method transfer by using interview forms and 3) selecting the agricultural extension officers and farmers through purposive sampling with the total number of 22 people for focus group. Data were analyzed to determine frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation, and ranking. While the qualitative data, were analyzed content and categorize. The results were found that 1) Knowledge of the officers and farmers were at the high level and received knowledge from knowledge resources in the form of activity media the most. 2) The officers performed the work according to the processes of the creation of sub-district agricultural plan at 78.8-100% and had opinions level, of overall, at the high level. 3) Overall farmers participated at the moderate level, and opinions at the high level. 4) Problems of the officers were at the moderate level and agreed with the suggestions, at the high level. 5) The officers indicated to receive potential development at high level with the procedures in determining development direction and target at the highest level. Suggestions regarding the development guidelines in four potential development aspects included processes in creating sub-district level agricultural development plan related individuals, the receiving of support, and other aspects for effective sub-district level agricultural development planning | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เบญจมาศ อยู่ประเสริฐ | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 23.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License