Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12976
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจรth_TH
dc.contributor.authorภัทรวดี มีแก้ว, 2534-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-03T06:19:03Z-
dc.date.available2025-01-03T06:19:03Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12976en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ในอาชีพอิสระของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดทฤษฎีของทอแรนซ์ และ (2) เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ในอาชีพอิสระของนักเรียนกลุ่มทดลอง ระยะหลังการทดลองกับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยในครั้งนี้ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง จังหวัดสุรินทร์ จำนวน 30 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ ชุดกิจกรรมแนะตามแนวคิดทฤษฎีของทอแรนซ์ ที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ในอาชีพอิสระ จำนวน 12 ครั้ง และแบบวัดความคิดสร้างสรรค์ในอาชีพอิสระ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .91 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวนักเรียนกลุ่มทดลองมีความคิดสร้างสรรค์ในอาชีพอิสระสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ในระยะติดตามผลกับระยะหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองมีความคิดสร้างสรรค์ในอาชีพอิสระไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแนะแนวอาชีพ--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectอาชีพอิสระth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดทฤษฎีของทอแรนซ์ที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ในอาชีพอิสระของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง จังหวัดสุรินทร์th_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities packages based on the theory of creative torrance for the creative freelance of Mathayom Suksa III Students School Kakokrayong Surinen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to (1) compare the creativity in the Freelance of the experimental group before and after the use of the guiding activity series according to Torrance theories and (2) compare the creative thinking in the independent career Experimental group Post-trial period with follow-up period The research sample consisted of 30 Mathayom Suksa III students schools kakokrayong. Surin, Obtained by simple random sampling. The employed research instrument comprised a guidance activities packages based on the Theory of Creative Torrance for the Creative Freelance twelve periods, and an assessment scale for Creative in Freelance, with .91 reliability quotient. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation, and t-test The research findings revealed that (1) after the experiments using the guidance activities packages, students in the experimental group had more creative thinking in their Freelance at the .05 level of statistical significance; and (2) The follow-up period to the post-test period. Students in the experimental group did not different in their creative thinking.en_US
dc.contributor.coadvisorนิรนาท แสนสาth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons