Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12978
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิมth_TH
dc.contributor.authorสิทธิพร วงศ์ศิริ, 2532-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-03T06:53:29Z-
dc.date.available2025-01-03T06:53:29Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12978en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบจิตสำนึกการให้บริการของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และ (2) เปรียบเทียบจิตสำนึกการให้บริการของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวและนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับข้อสนเทศแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนโรงเรียนเดอะแคร์การบริบาล จังหวัดอุบลราชธานี ปีการศึกษา 2562 จำนวน 60 คน ที่ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม มีคะแนนจากแบบวัดจิตสำนึกในการให้บริการ ตั้งแต่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 ลงมาแล้วสุ่มอย่างง่ายเพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 คน กลุ่มทดลองได้รับชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาจิตสำนึกการให้บริการ จำนวน 10 ครั้ง เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาจิตสำนึกการให้บริการ และแบบวัดจิตสำนึกในการให้บริการที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .81 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า (1) ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวมีจิตสำนึกการให้บริการสูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว มีจิตสำนึกการให้บริการสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับข้อสนเทศแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectจิตพิสัยบริการ--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาจิตสำนึกการให้บริการ ของนักเรียนโรงเรียนเดอะแคร์การบริบาล จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to develop service mind of the Care Child and Elderly Care School Students, Ubon Ratchathani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) compare level of service mind of an experimental group of students before and after using a guidance activities package to develop service mind, and (2) compare level of service mind of the experimental group using the guidance activities package to develop service mind and a control group using normal information.The sample were 60 students of The Care Child and Elderly Care School in 2019,academic year at Ubon Ratchathani Province. They were obtained by group randomization who had scores on a test of the levels of the service mind below the 50th percentile. Then, they were simple divided into the experimental group and control group, 30 students in each group. The experimental group received the guidance activities package to develop service mind for 10 sessions. The instruments were the guidance activities package to develop service mind and the test to assess service mind with a reliability of .81. Data analysis were mean, standard deviation and t-test.The findings revealed that (1) after the experiment, the students using the guidance activities package had service mind higher than before with statistical significance at .01 level, and (2) after the experiment, the students using the guidance activities package had service mind higher than the control group with statistical significance at .01 level.en_US
dc.contributor.coadvisorวัลภา สบายยิ่งth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons