Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12979
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุฬาลักษณ์ โสระพันธ์ | th_TH |
dc.contributor.author | นรีรัตน์ บุญเพชรแก้ว, 2535- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-03T07:07:00Z | - |
dc.date.available | 2025-01-03T07:07:00Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12979 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนในจังหวัดกระบี่ 2) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนในจังหวัดกระบี่ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้กับปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนในจังหวัดกระบี่ และ 4) สร้างสมการทำนายปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนในจังหวัดกระบี่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตรัง กระบี่ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดกระบี่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตรัง กระบี่ จำนวน 269 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบมีระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .84 และ .92 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) โรงเรียนมีความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ 1.1) การมีแบบแผนทางความคิด 1.2) ความสามารถในการคิดเชิงระบบ 1.3) ความสามารถในการเป็นบุคคลที่รอบรู้ 1.4) ความสามารถในการเรียนรู้ของทีม และ 1.5) ความสามารถในการมีวิสัยทัศน์ร่วม 2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ 2.1) ภาวะผู้นำทางวิชาการ 2.2) การจูงใจ 2.3) โครงสร้างขององค์การ 2.4) วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ 2.5) เทคโนโลยี และ 2.6) วัฒนธรรมและบรรยากาศขององค์การ 3) การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียน กับ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง และ 4) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ประกอบด้วย 3 ปัจจัย คือ วัฒนธรรมและบรรยากาศขององค์การ(X,) วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ยุทธศาสตร์(X4) และการจูงใจ(X2) ซึ่งสามารถพยากรณ์การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนได้ร้อยละ 69.20 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงเรียน--การบริหาร--ไทย--กระบี่ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนในจังหวัดกระบี่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตรัง กระบี่ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting being learning organization of schools in Krabi Province under the Secondary Educational Service Area Office Trang Krabi | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study the being learning organization of schools in Krabi province; (2) to study the factors related to the being learning organization of schools in Krabi province; (3) to study the relationship between the being learning organization and the factors related to the being learning organization of schools in Krabi province; and (4) to create a predicting equation for the factors affecting the being learning organization of schools in Krabi province under the Secondary Educational Service Area Office Trang Krabi. The research sample consisted of 269 teachers in secondary schools in Krabi province under the Secondary Educational Service Area Office Trang Krabi, obtained by systematic sampling. The employed research instrument was a 5-scale rating questionnaire, with the reliability coefficients of .84 and .92, respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson correlation coefficient, and multiple regression analysis. The research findings showed that (1) the being learning organization of the schools was rated at the moderate level in every aspects; the specific aspects of being learning organization could be ranked based on their rating means as follows: (1.1) the having patterns of thought, (1.2) the ability to think systematically, (1.3) the ability to be a well-informed person, (1.4) the learning ability of the team, and (1.5) the ability to have shared vision; (2) all of the factors related to the being learning organization of the schools were rated at the moderate level; the specific factors could be ranked based on their rating means as follows: (2.1) academic leadership, (2.2) motivation, (2.3) organizational structure, (2.4) vision, mission and strategy, (2.5) technology, and (2.6) organizational culture and climate; (3) the being learning organization of the schools had positive correlation at the moderate level with the factors related to the being learning organization of the schools; and (4) there were three factors that affected the being learning organization of the schools at the .05 level of statistical significance, i.e. the organizational culture and climate (X2), the vision, mission and strategy (X4), and the motivation (X6); they could be combined to predict the being learning organization of the schools by 69.20 percent; and the predicting equation in the form of standardized score was as shown below. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License