Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12985
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิตา เยี่ยมขันติถาวร | th_TH |
dc.contributor.author | ธนวรรณ เอมจั่น, 2536- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-06T01:48:28Z | - |
dc.date.available | 2025-01-06T01:48:28Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12985 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2565 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการฟัง-พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน 2) เปรียบเทียบความสามารถในการฟัง-พูดภาษาอังกฤษหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานกับเกณฑ์ และ 3) เปรียบเทียบแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเวียงมอกวิทยา จังหวัดลำปาง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 26 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน 2) แบบทดสอบความสามารถในการฟัง-พูดภาษาอังกฤษ และ 3) แบบวัดแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการฟัง-พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความสามารถในการฟัง-พูดภาษาอังกฤษหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 3) นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--ลำปาง | th_TH |
dc.title | ผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน ที่มีต่อความสามารถในการฟังพูดภาษาอังกฤษและแรงจูงใจในการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเวียงมอกวิทยา จังหวัดลำปาง | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using learning activities basing on brain-based approach on English listening-speaking ability of grade 7 students at Wiang Mok Wittaya School in Lampang Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to (1) compare the English listening-speaking ability of grade 7 students before and after learning through the brain-based approach; (2) compare the English listening-speaking ability of grade 7 students after learning through the brain-based approach with the criterion; and (3) compare the students’ motivation towards English language learning before and after learning through the brain-based approach.The research sample consisted of 26 grade 7 students in the first semester of the academic year 2022 at Wiang Mok Wittaya School in Lampang Province, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments included 1)learning management plans based on the brain-based approach, 2) an Englishlistening-speaking ability test, and 3) a questionnaire to assess motivation toward English language learning. The statistics used for data analysis were the mean, standard division, and t-test. The research findings revealed that 1) the post-learning mean score on the English listening-speaking ability of the students was significantly higher than their pre-learning counterpart mean score at the .05 level of statistical significance; 2) the students’ English listening and speaking ability after learning through the brain-based approach was higher than 70% criterion; and 3) the students’ post-learning motivation towards English language learning was significantly higher than their pre-learning counterpart motivation at the .05 level of statistical significance. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อารีรักษ์ มีแจ้ง | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License