Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13003
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบริบูรณ์ ปิ่นประยงค์th_TH
dc.contributor.authorปรียาลักษณ์ วัฒนสิทธิ์, 2536-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-08T03:36:21Z-
dc.date.available2025-01-08T03:36:21Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13003en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม.(บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการตัดสินใจสั่งซื้ออาหารผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) พฤติกรรมการตัดสินใจสั่งซื้ออาหารผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3) การตัดสินใจสั่งซื้ออาหารผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ จังหวัดนครศรีธรรมราช 4) ความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการผ่านสื่อดิจิทัลและการยอมรับใช้เทคโนโลยี กับการตัดสินใจสั่งซื้ออาหารผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ จังหวัดนครศรีธรรมราช และ 5) การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการผ่านสื่อดิจิทัล และการยอมรับการใช้เทคโนโลยีที่มีผลต่อการตัดสินใจสั่งซื้ออาหารผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ จังหวัดนครศรีธรรมราชการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากร ได้แก่ ผู้บริโภคในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มีประสบการณ์ใช้บริการสั่งซื้ออาหารผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ ซึ่งไม่ทราบจำนวน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรวิธีการของ คอแครน ได้จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันและวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง อายุระหว่าง 21 - 30 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001 - 20,000 บาท 2) พฤติกรรมการตัดสินใจใช้บริการสั่งซื้ออาหารผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ ส่วนใหญ่สั่งอาหารไทย ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย 201 - 400 บาท สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และสั่งซื้ออาหารมื้อกลางวัน 3) การตัดสินใจใช้บริการสั่งซื้ออาหารผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ เนื่องจากมีความหลากหลายทางเลือก การตอบสนองความต้องการ และสภาพแวดล้อม 4) ความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการผ่านสื่อดิจิทัล และการยอมรับใช้เทคโนโลยี กับการตัดสินใจใช้บริการสั่งซื้ออาหารผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 5) การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการผ่านสื่อดิจิทัลและการยอมรับใช้เทคโนโลยีมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสั่งซื้ออาหารผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ จังหวัดนครศรีธรรมราชอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริการจัดส่งอาหาร--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.subjectการซื้อสินค้า--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจสั่งซื้ออาหารผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting decision to order food via online platforms in Nakhon Si Thammarat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to study 1) personal factors affecting the decision to order food through an online platform Nakhon Si Thammarat Province, 2) Decision-making behavior in ordering food through online platforms Nakhon Si Thammarat Province, 3) To study the decision to order food through an online platform Nakhon Si Thammarat Province, 4) The relationship between integrated marketing communications through digital media and adoption of technology with the decision to order food through an online platform Nakhon Si Thammarat Province, and 5) Integrated marketing communications through digital media and the adoption of technology that influences decision-making to order food through online platforms. Nakhon Si Thammarat Province This study used a questionnaire as a tool to collect data from a sample of customers who ordered food through an online platform. Nakhon Si Thammarat Province consisted of 400 people using the Cochran method and specific sampling. The statistics used in the data analysis were percentage, mean, standard deviation. Pearson correlation coefficient test and normal multiple regression analysis. with a statistical program. The results of the study found that 1) Most of the respondents were female, aged between 21-30 years old, with a bachelor's degree. Occupation is a private company employee. Average monthly income 10,001 – 20,000 baht, 2) Decision behavior of using online food ordering service Most of them ordered Thai food. Average cost 201 - 400 baht once a week and order lunch, 3) Decision to use food ordering service via online platform due to the variety of choices meeting the needs and environment, 4) The relationship between integrated marketing communication through digital media and adoption of technology with the decision to use a food ordering service through an online platform had a statistically significant positive correlation coefficient at the 0.01 level and 5) Integrated marketing communication through digital media and the adoption of technology influences decision-making to use food ordering services through online platforms. Nakhon Si Thammarat Province had a statistical significance of 0.05.en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons