Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13008
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทัศนา หาญพล | th_TH |
dc.contributor.author | สุวภรณ์ อาญาพิทักษ์, 2535- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-10T01:54:38Z | - |
dc.date.available | 2025-01-10T01:54:38Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13008 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการใช้สารสนเทศเพื่อการสอนและการวิจัยของคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคใต้ (2) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศเพื่อการสอนและการวิจัยของคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคใต้ จำแนกตาม เพศ ระดับการศึกษา คณะที่สังกัด และ (3) ศึกษาปัญหาการใช้สารสนเทศเพื่อการสอนและการวิจัยของคณาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นคณาจารย์คณะครุศาสตร์และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคใต้ 5 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี และมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 265 คน ได้รับแบบสอบถาม 209 ชุด คิดเป็นร้อยละ 78.87 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) คณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคใต้ ใช้สารสนเทศเพื่อการสอนโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า คณาจารย์มีวัตถุประสงค์การใช้สารสนเทศเพื่อการสอนในระดับมาก คือ ด้านการเตรียมการสอน รองลงมาคือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้านการกำหนดเนื้อหาด้านการวางแผนการสอน และด้านการวัดผลประเมินผล ตามลำดับ คณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคใต้ใช้สารสนเทศเพื่อการวิจัยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า คณาจารย์มีวัตถุประสงค์การใช้สารสนเทศเพื่อการวิจัยในระดับมาก คือ ด้านการเขียนอ้างอิง รองลงมาคือ ด้านการผลิตผลงานวิจัย และด้านการเผยแพร่งานวิจัย ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบการใช้สารสนเทศเพื่อการสอนของคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคใต้ จำแนกตาม เพศ ระดับการศึกษา ไม่มีความแตกต่างกัน ขณะที่คณะที่สังกัด แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ผลการเปรียบเทียบการใช้สารสนเทศเพื่อการวิจัยของคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคใต้ จำแนกตาม เพศ ระดับการศึกษา และคณะที่สังกัด แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือคณาจารย์เพศหญิงมีการใช้สารสนเทศเพื่อการวิจัยมากกว่าคณาจารย์เพศชาย คณาจารย์ที่สำเร็จการศึกษาปริญญาเอกมีการใช้สารสนเทศเพื่อการวิจัยมากกว่าคณาจารย์ที่สำเร็จการศึกษาปริญญาโท คณาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีการใช้สารสนเทศเพื่อการวิจัยมากกว่าคณาจารย์คณะครุศาสตร์ และ 3) ปัญหาการใช้สารสนเทศเพื่อการสอนและการวิจัย พบว่า ด้านทรัพยากรสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศมีจำนวนไม่เพียงพอ ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ผู้ให้บริการขาดจิตบริการ ด้านสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวก เครือข่ายอินเทอร์เน็ตขัดข้องบ่อยและด้านแหล่งให้บริการ (แหล่งสารสนเทศบุคคล) ผู้เชี่ยวชาญบางสาขามีจำนวนน้อย และเวลาเปิด-ปิดบริการของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศน้อยเกินไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สารสนเทศ--การศึกษาการใช้ | th_TH |
dc.subject | อาจารย์มหาวิทยาลัย--การประเมิน | th_TH |
dc.title | การใช้สารสนเทศเพื่อการสอนและการวิจัยของคณาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคใต้ | th_TH |
dc.title.alternative | Information use for instruction and research by the faculty members at Rajabhat Universities in Southern Provinces | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สารสนเทศศาสตร์) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to: (1) study information use of lecturers for teaching and research in Southern Rajabhat Universities, (2) compare information use of lecturers for teaching and research in Southern Rajabhat Universities by gender, educational level, and affiliate faculty, and (3) investigate the lecturers’ problems in using information for teaching and research in Southern Rajabhat Universities. Samples used in this research were 265 lecturers from Faculty of Education and Faculty of Humanities & Social Sciences of five Southern Rajabhat Universities, consisting of Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, Phuket Rajabhat University, Yala Rajabhat University, Surat Thani Rajabhat University, and Songkhla Rajabhat University. The research tool was a questionnaire and 209 faculty members responded to the questionnaire (78.87%). Data was analyzed by percentage, mean, standard deviation, and t-test as a statistical test. The results indicated that: 1) the lecturers in Southern Rajabhat Universities used information for teaching at a high level for teaching preparation, teaching-learning activities, subject design, teaching plans, and evaluation, respectively. Similarly, they used information for research at a high level for citation, research production, and research publication, respectively; 2) when compared information use of the lecturers for teaching, classified by gender and educational level, the comparison was not statistically significant; on the other hand, the affiliate faculty revealed a significance level of .05. Meanwhile, when compared information used by the lecturers and affiliate faculty for research, classified by gender, educational level, revealed a significance level of .05; female lecturers used information for research much more than male lecturers, doctoral degree lecturers used information for research much more than master's degree lecturers, and also lecturers in the Faculty of Humanities and Social Sciences used information for research much more than lecturers in the Faculty of Education; and 3) the problems lecturers’ faced were inadequate resources, lack of service with a conscience, and infrastructure, such as an interrupted internet network, individual information source, limited number of experts in some fields, and limited opening hours of Academic Resources and Information Technology Center | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สรายุทธ ยหะกร | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 34.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License