Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระวุธ ธรรมกุลth_TH
dc.contributor.authorนลินทิพย์ ชูโชติแก้ว, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-10T06:37:05Z-
dc.date.available2025-01-10T06:37:05Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13016en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล สมรรถนะประจำกลุ่มงาน และปัจจัยการเสริมพลังอำนาจในงาน (2) อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยการเสริมพลังอำนาจต่อสมรรถนะประจำกลุ่มงานของนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานส่วนกลางของกรมควบคุมโรค และ (3) ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการพัฒนาสมรรถนะประจำกลุ่มงานของนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานส่วนกลางของกรมควบคุมโรค ประชากรที่ศึกษา คือ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานส่วนกลางของกรมควบคุมโรค จำนวน 103 คน โดยเก็บข้อมูลทุกหน่วยประชากร เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามการวิจัย ที่มีค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.872 โดยให้นักวิชาการสาธารณสุข เป็นผู้ประเมินตนเอง สถิติที่ใช้ คือความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า (1) นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 44.7 ปี มีสถานภาพโสด จบปริญญาโท มีอัตราเงินเดือนเฉลี่ย 37,458 บาท/เดือน มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานในตำแหน่งเฉลี่ย 9.7 ปี มีสมรรถนะประจำกลุ่มงานของนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการในภาพรวมอยู่ในระดับสูง สมรรถนะด้านที่ค่าคะแนนเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ การสั่งการตามอำนาจหน้าที่ส่วนปัจจัยการเสริมพลังอำนาจโดยรวมอยู่ในระดับมาก และรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน ยกเว้นด้านการได้รับทรัพยากรอยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะประจำกลุ่มงานของนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ มีค่าในการทำนายร้อยละ 16.5 คือ การเสริมพลังอำนาจด้านการได้รับข้อมูลข่าวสาร และ (3) ปัญหาอุปสรรค ได้แก่ ส่วนใหญ่ยังมีสมรรถนะในการสร้างเงื่อนไขเพื่อให้ผู้อื่นปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบน้อย ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ควรจัดอบรมหลักสูตรด้านกลไกการบังคับใช้กฎหมาย จัดสรรเวลาสำหรับการวิจัย พัฒนาวิชาการและนวัตกรรมให้กับนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ และจัดสรรบุคลากรให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน และสนับสนุนให้มีแหล่งความรู้ทางวิชาการที่ทันสมัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมควบคุมโรค--ข้าราชการและพนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุข--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะประจำกลุ่มงานของนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานส่วนกลางของกรมควบคุมโรคth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the functional competencies of public health technical officers (professional Level) at central units under the Department of Disease Controlen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to identify personal factors, functional competencies, and work empowerment factors; (2) to identify factors affecting functional competencies; and (3) to identify problems/obstacles and make suggestions for improving functional competencies, all involving public health technical officers (professional level) of central units under the Department of Disease Control (DDC).The study was conducted among all 103 professional public health technical officers who had worked at DDC’s central agencies. Data were collected using a self-reporting questionnaire with the reliability value of 0.872, and then analyzed to determine frequencies, percentages, means, and standard deviation, and perform stepwise multiple regression analysis. The results revealed that, among the respondents: (1) the majority of them were single female master’s degree-holders aged 44.7 years on average, and they had a monthly salary of about 37,458 baht and 9.7 years of service on average; their overall functional competencies were at a high level – the lowest mean score for formal work assignments; their overall empowerment was at a high level, so were all empowerment factors, except that the receipt of resources was moderate; (2) the factor significantly affecting their functional competencies was work empowerment regarding the receipt of information whose predictive level was 16.5%; and (3) the problem/obstacle was their low capacity to create conditions for others to comply with laws or regulations. Thus, it is suggested that, for professional public health technical officers, the executives should have a training course organized for developing law enforcement mechanisms, allocate more time for research and technical capacity building as well as innovation, allocate sufficient personnel to perform the work, and provide sources of up-to-date technical knowledge.en_US
dc.contributor.coadvisorวรางคณา จันทร์คงth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons