Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13042
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์th_TH
dc.contributor.authorบัว คำมณีth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:07:22Z-
dc.date.available2025-01-24T08:07:22Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13042en_US
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ 2) การใช้ประโยชน์จากสื่อสังคมออนไลน์ และ 3) ความพึงพอใจต่อสื่อสังคมออนไลน์ของผู้สูงอายุในจังหวัดปทุมธานี การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ  กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุในจังหวัดปทุมธานีที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ จำนวน 400 คน ใช้เแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย  และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์แพลตฟอร์มยูทูบมากที่สุด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อคุยกับเพื่อนปัจจุบันและเพื่อนเก่า เพื่อรับ-ส่งข้อความส่วนตัวมากที่สุด โดยใช้โทรศัพท์มือถือเป็นเครื่องมือในการเข้าถึง ส่วนใหญ่ใช้สื่อสังคมออนไลน์มากกว่า 10 ครั้ง/สัปดาห์ ครั้งละไม่เกิน 1 ชั่วโมง และช่วงเวลาที่นิยมใช้สื่อสังคมออนไลน์มากที่สุด คือ เวลา 16.00-19.00 น. 2) กลุ่มตัวอย่างใช้ประโยชน์จากสื่อสังคมออนไลน์โดยรวมในระดับมาก โดยเฉพาะด้านที่มีการใช้ประโยชน์สูงสุดคือความเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย และเป็นเพื่อนคลายเหงา และ 3) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อสื่อสังคมออนไลน์โดยรวมในระดับมาก โดยเฉพาะด้านความสะดวกในการใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลาและสามารถใช้งานซ้ำได้ตามต้องการที่มีความพึงพอใจสูงสุด ทั้งนี้ เสนอแนะว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดปทุมธานีควรใช้ยูทูบเป็นช่องทางในการสื่อสาร โดยควรนำเสนอเนื้อหาด้วยการสอดแทรกสาระความรู้หรือข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในรูปแบบของความบันเทิงที่ดูสนุกสนานและผ่อนคลายth_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.subjectความพอใจของผู้บริโภค--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาเฉพาะกรณี--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.subjectผู้บริโภคสูงอายุ--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.titleการเปิดรับสื่อ การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจต่อสื่อสังคมออนไลน์ของผู้สูงอายุในจังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeOnline social media exposure, utilization and satisfaction of Seniors in Pathum Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: 1) the online social media exposure; 2) the online social media utilization; and 3) the satisfaction with online social media of seniors in Pathum Thani Province.                   This was survey research. The sample population consisted of 400 seniors in Pathum Thani Province aged 60 and over, chosen through stratified random sampling.The data collection tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed using frequency distribution, percentage, mean and standard deviation.  The results showed that 1) the online social media platform the seniors were exposed to the most was Youtube.They utilized social media mainly to chat with friends from their present life and old friends from the past and to send and receive personal messages. They mostly accessed social media on their mobile phones. Most survey respondents reported using social media more than 10 times per week, for no more than one hour at a time. They used social media most often during 16.00-19.00. 2) Overall, the senior citizens surveyed utilized social media to a high level. They utilized it for entertainment and relaxation the most, and to combat loneliness. 3) Overall, the senior citizens surveyed were very satisfied with social media. They were especially satisfied with the convenience of use at any time and anywhere, and that they could easily repeat the usage as desired. The researcher recommends that relevant agencies responsible for improving the quality of life of senior citizens in Pathum Thani should use YouTube as a communication channel to present content that imparts news and knowledge of benefit to improving the quality of life of seniors in an entertaining way that will provide fun and relaxation for seniorsen_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2651500023.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.