Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13056
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | THANAKORN SRIKO | en |
dc.contributor | ทนากร ศรีก๊อ | th |
dc.contributor.advisor | Wittayatorn Tokeaw | en |
dc.contributor.advisor | วิทยาธร ท่อแก้ว | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:07:32Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:07:32Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 17/5/2024 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13056 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to study 1) the role and status of problems with communication experienced by tambon administrative organization (TAO) administrators in Chiang Rai Province to build public participation in the process of planning community development projects; 2) the patterns of communication used by TAO administrators in Chiang Rai Province to build public participation in community development projects; and 3) approaches TAO administrators in Chiang Rai Province can use to better utilize communications to build public participation in community development projects. This was qualitative research using the in-depth interview method. The key informants were chosen by purposive sampling from among people directly involved in communication to build public participation in community development projects in Chiang Rai Province. The 27 key informants came from 3 groups: (1) 16 TAO administrators, (2) 8 community leaders, and (3) 3 experts on communications and community development. The research tool was a structured in-depth interview form. Data were analyzed by drawing conclusions. The results showed that 1) the role and status of problems with communication- (1) roles were to inform citizens about their rights, to listen to people’s opinions about local development plans, to coordinate and delegate decision-making power to all citizens equally, and to raise people’s awareness about their personal value, the importance of personal development and the importance of community development; (2) problems were incomplete coverage of broadcasts, because the communities are widespread and scattered; limitations due to the short amount of time available for listening to people’s problems; personnel in charge of communications lacked expertise in transmitting messages via conventional and new media; people in authority did not give clear explanations about their reasons for reaching certain decisions about the communications; and there were some limitations due to the rules regulating communication. 2)Patterns of communication- (1) bottom-to-top and top-to-bottom two-way communication was used to develop policies; (2) TAOs gave citizens the opportunity to take a role in the organization’s main activities for setting the development agenda and determining the work methods; and (3) citizens joined in auditing and evaluating the TAO’s management. 3) Approaches for better utilizing communication- (1) use communication in the planning, design and dissemination of content; (2) use communication in the setting of communication strategies that match well with the people’s way of life in the communities; (3) use communication to organize public forums where the government sector and the public can exchange news and information; (4) create effective communication networks that can solve people’s problems in a practical way; and (5) upgrade the TAOs’ capacities to create understanding in joint work by developing and strengthening each organization’s internal communications in the form of meetings, online communications, and use of communications tools and applications, with an aim to promote cooperation in community development work by holding activities, as well as opening more opportunities for citizens to engage and learn through educational activities, health activities, public service activities, and volunteer activities. This would help drive the projects and motivate people to work together for common goals that were formed based on the people’s own needs and desires. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) บทบาทและสภาพปัญหาการสื่อสาร เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดเชียงราย 2) รูปแบบการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดเชียงราย และ 3) แนวทางการใช้ประโยชน์จากการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดเชียงราย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก เลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเจาะจงจากผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงด้านการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนในจังหวัดเชียงราย จำนวน 3 กลุ่ม รวมจำนวน 27 คน ได้แก่ (1) ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล 16 คน (2) ผู้นำชุมชน 8 คน และ (3) ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านการสื่อสารและพัฒนาชุมชน 3 คน เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการสร้างข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่า 1) บทบาทและสภาพปัญหาการสื่อสาร ประกอบด้วย 2 ด้าน คือ (1) บทบาทการสื่อสาร ในการให้ความรู้เกี่ยวกับสิทธิต่างๆ ของประชาชน การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนตามแผนพัฒนาท้องถิ่น การประสานงานและมอบอำนาจการตัดสินใจให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึงและเสมอภาค และการสร้างความตระหนัก ในคุณค่าของตนเอง การพัฒนาตนเอง และการพัฒนาท้องถิ่น (2) สภาพปัญหาการสื่อสารด้านการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารไม่ทั่วถึงเนื่องจากชุมชนมีการกระจายตัว มีข้อจำกัดด้านช่วงระยะเวลาสั้นในการรับฟังความคิดเห็น บุคลากรที่ทำหน้าที่สื่อสารขาดความชำนาญผ่านสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่ ผู้มีอำนาจตัดสินใจในการสื่อส่ารไม่ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจที่ชัดเจน และมีข้อจำกัดด้านกฎระเบียบในการปฏิบัติการการสื่อสาร 2) รูปแบบการสื่อสาร ประกอบด้วย 3 รูปแบบ คือ (1) การพัฒนานโยบายโดยใช้การสื่อสารแบบสองทางจากเบื้องล่างขึ้นสูงเบื้องบนและจากเบื้องบนสู่เบื้องล่าง (2) การกำหนดแนวทางการปฏิบัติงานมีการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้าไปมีบทบาทในกิจกรรมหลักขององค์กร และ (3) ประชาชนได้ร่วมตรวจสอบและประเมินผลการบริหารขององค์การบริหารส่วนตำบล และ 3) แนวทางการใช้ประโยชน์จากการสื่อสาร ประกอบด้วย 4 แนวทาง คือ (1) การนำไปใช้ในการวางแผนการออกแบบเนื้อหาสารและการนำเสนอเผยแพร่ (2) การนำไปกำหนดกลยุทธ์การสื่อสารให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน (3) การดำเนินการจัดเวทีสาธารณะในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างภาครัฐและประชาชน (4) การลงมือปฏิบัติในการสร้างเครือข่ายการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหาชุมชน และ (5) การยกระดับการสร้างความเข้าใจในการทำงานร่วมกัน โดยการพัฒนาการสื่อสารภายในองค์กรให้เข้มแข็งทั้งรูปแบบการประชุม การใช้ช่องทางการสื่อสารทางออนไลน์ หรือการใช้เครื่องมือหรือแอปพลิเคชันสื่อสาร มุ่งสร้างสร้างความร่วมมือในทางปฏิบัติเพื่อร่วมกันพัฒนาชุมชนผ่านการจัดโครงการหรือกิจกรรม รวมทั้งเปิดโอกาสให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมผ่าน กิจกรรมการศึกษา กิจกรรมสุขภาพ กิจกรรมบริการสาธารณะ กิจกรรมการพัฒนาชุมชนแบบจิตอาสา เพื่อร่วมขับเคลื่อนและผลักดันการทำงานเป็นไปตามเป้าหมายที่นำปัญหาและความต้องการของประชาชนในชุมชนมาเป็นฐานการพัฒนาท้องถิ่น | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | การสื่อสาร การมีส่วนร่วม การพัฒนาชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบล | th |
dc.subject | Communication | en |
dc.subject | Participation | en |
dc.subject | Community development | en |
dc.subject | Tambon administrative organization | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Information and communication | en |
dc.title | Communications to Build Public Participation in Community Development by Tambon Administrative Organizations in Chiang Rai Province | en |
dc.title | การสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดเชียงราย | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | ดุษฎีนิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Wittayatorn Tokeaw | en |
dc.contributor.coadvisor | วิทยาธร ท่อแก้ว | th |
dc.contributor.emailadvisor | [email protected] | |
dc.contributor.emailcoadvisor | [email protected] | |
dc.description.degreename | Doctor of Philosophy in Communication Innovation for Political and Local Administration (Ph.D. (Communication Innovation for Political and) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต แขนงวิชานวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น (ปร.ด. (นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น)) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Doctor of Philosophy (Communication Innovation for Political and Local Administration) | en |
dc.description.degreediscipline | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น) | th |
Appears in Collections: | Comm-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
4631500479.pdf | 987.57 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.