Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13065
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorANEKPONG RATTANAWICHIENCHOTen
dc.contributorเอนกพงศ์ รัตนวิเชียรโชติth
dc.contributor.advisorSukaroon Wongtimen
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิมth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:24:22Z-
dc.date.available2025-01-24T08:24:22Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued26/12/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13065-
dc.description.abstractThe objectives of this study were to 1) compare spiritual well-being of the elderly in an experimental group before and after receiving integrated group counseling, and 2) compare spiritual well-being of the elderly in the experimental group after receiving integrated group counseling and a control group after receiving usual information. The samples were 16 elderly subjects at a nursing home in Ratchaburi Province. They had well-being measurement score lower than 50 percentile and they were volunteers into the study. Then, simple random sampling was done to divide them into 2 groups: the experimental group and the control group, with 8 subjects in each group. The experimental group received the integrated group counseling while the control group received usual information. Research instruments were 1) the spiritual well-being questionnaires with a reliability of .87, and 2) the integrated group counseling program to enhance well-being of the elderly. The statistics were median, quartile deviation, Wilcoxon Matched Pairs Singed-Ranks Test, and Mann-Whitney U Test.   The results showed that 1) after receiving the integrated group counseling, the elderly had spiritual well-being higher than before the counterpart with statistical significance at .05 level; and 2) the elderly who received the integrated group counseling had spiritual well-being higher than those of the elderly who received usual information with statistical significance at .05 levelen
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความผาสุกทางจิตวิญญาณของผู้สูงอายุ ก่อนและหลังการให้ปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการ  และ2) เปรียบเทียบความผาสุกทางจิตวิญญาณระหว่างผู้สูงอายุที่ได้รับการให้การปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการ และผู้สูงอายุที่ได้รับการให้คำแนะนำตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ  ผู้สูงอายุบ้านพักคนชราแห่งหนึ่ง ในจังหวัดราชบุรีจำนวน 16 คน ที่มีคะแนนจากแบบวัดความผาสุกทางจิตวิญญาณตั้งแต่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 ลงมา และสมัครใจเข้าร่วมการทดลอง แล้วสุ่มอย่างง่ายเพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 8 คน  กลุ่มทดลองได้รับการให้การปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการ จำนวน 10 ครั้ง ครั้งละ 90 นาที  กลุ่มควบคุมได้รับการให้คำแนะนำตามปกติ  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่  1) แบบวัดความผาสุกทางจิตวิญญาณ ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .87 และ 2) โปรแกรมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแบบบูรณาการเพื่อเสริมความผาสุกทางจิตวิญญาณ สถิติที่ใช้ได้แก่  ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบวิลคอกซัน และการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัย พบว่า 1) ภายหลังการให้การปรึกษากลุ่มเพื่อเสริมสร้างความผาสุกทางจิตวิญญาณ ผู้สูงอายุ มีความผาสุกทางจิตวิญญาณสูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ผู้สูงอายุที่ได้รับการปรึกษากลุ่ม มีความผาสุกทางจิตวิญญาณสูงกว่าผู้สูงอายุที่ได้รับคำแนะนำตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectความผาสุกทางจิตวิญญาณ  การให้การปรึกษาแบบกลุ่มแบบบูรณาการ  ผู้สูงอายุth
dc.subjectSpiritual Well-beingen
dc.subjectGroup Counselingen
dc.subjectElderlyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleEffect of Integrated Group Counseling to Enhance Spiritual Well-Being of the Elderly at a Nursing Home in Ratchaburi Provinceen
dc.titleผลของการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแบบบูรณาการเพื่อเสริมสร้างความผาสุกทางจิตวิญญาณของผู้สูงอายุบ้านพักคนชราแห่งหนึ่ง ในจังหวัดราชบุรีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSukaroon Wongtimen
dc.contributor.coadvisorสุขอรุณ วงษ์ทิมth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Guidance and Psychological Counseling (M.Ed. (Guidance and Psychological Counseling))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Guidance and Psychological Counseling)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2592800797.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.