Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13065
Title: | Effect of Integrated Group Counseling to Enhance Spiritual Well-Being of the Elderly at a Nursing Home in Ratchaburi Province ผลของการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแบบบูรณาการเพื่อเสริมสร้างความผาสุกทางจิตวิญญาณของผู้สูงอายุบ้านพักคนชราแห่งหนึ่ง ในจังหวัดราชบุรี |
Authors: | ANEKPONG RATTANAWICHIENCHOT เอนกพงศ์ รัตนวิเชียรโชติ Sukaroon Wongtim สุขอรุณ วงษ์ทิม Sukhothai Thammathirat Open University Sukaroon Wongtim สุขอรุณ วงษ์ทิม [email protected] [email protected] |
Keywords: | ความผาสุกทางจิตวิญญาณ การให้การปรึกษาแบบกลุ่มแบบบูรณาการ ผู้สูงอายุ Spiritual Well-being Group Counseling Elderly |
Issue Date: | 26 |
Publisher: | Sukhothai Thammathirat Open University |
Abstract: | The objectives of this study were to 1) compare spiritual well-being of the elderly in an experimental group before and after receiving integrated group counseling, and 2) compare spiritual well-being of the elderly in the experimental group after receiving integrated group counseling and a control group after receiving usual information. The samples were 16 elderly subjects at a nursing home in Ratchaburi Province. They had well-being measurement score lower than 50 percentile and they were volunteers into the study. Then, simple random sampling was done to divide them into 2 groups: the experimental group and the control group, with 8 subjects in each group. The experimental group received the integrated group counseling while the control group received usual information. Research instruments were 1) the spiritual well-being questionnaires with a reliability of .87, and 2) the integrated group counseling program to enhance well-being of the elderly. The statistics were median, quartile deviation, Wilcoxon Matched Pairs Singed-Ranks Test, and Mann-Whitney U Test. The results showed that 1) after receiving the integrated group counseling, the elderly had spiritual well-being higher than before the counterpart with statistical significance at .05 level; and 2) the elderly who received the integrated group counseling had spiritual well-being higher than those of the elderly who received usual information with statistical significance at .05 level การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความผาสุกทางจิตวิญญาณของผู้สูงอายุ ก่อนและหลังการให้ปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการ และ2) เปรียบเทียบความผาสุกทางจิตวิญญาณระหว่างผู้สูงอายุที่ได้รับการให้การปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการ และผู้สูงอายุที่ได้รับการให้คำแนะนำตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุบ้านพักคนชราแห่งหนึ่ง ในจังหวัดราชบุรีจำนวน 16 คน ที่มีคะแนนจากแบบวัดความผาสุกทางจิตวิญญาณตั้งแต่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 ลงมา และสมัครใจเข้าร่วมการทดลอง แล้วสุ่มอย่างง่ายเพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 8 คน กลุ่มทดลองได้รับการให้การปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการ จำนวน 10 ครั้ง ครั้งละ 90 นาที กลุ่มควบคุมได้รับการให้คำแนะนำตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบวัดความผาสุกทางจิตวิญญาณ ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .87 และ 2) โปรแกรมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแบบบูรณาการเพื่อเสริมความผาสุกทางจิตวิญญาณ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบวิลคอกซัน และการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัย พบว่า 1) ภายหลังการให้การปรึกษากลุ่มเพื่อเสริมสร้างความผาสุกทางจิตวิญญาณ ผู้สูงอายุ มีความผาสุกทางจิตวิญญาณสูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ผู้สูงอายุที่ได้รับการปรึกษากลุ่ม มีความผาสุกทางจิตวิญญาณสูงกว่าผู้สูงอายุที่ได้รับคำแนะนำตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13065 |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2592800797.pdf | 1.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.