Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13081
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กันตวรรณ มีสมสาร | th_TH |
dc.contributor.author | นันทินี ขวัญมา | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:24:31Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:24:31Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13081 | en_US |
dc.description | การศึกษาเฉพาะกรณี (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาของ เด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ เด็กปฐมวัยชาย-หญิง ที่มีอายุ ระหว่าง 5 - 6 ปี ซึ่งกำลังศึกษาระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนบ้านวังประดา จังหวัดกำแพงเพชร จำนวน 20 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) แผนการจัดประสบการณ์โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน 2) แบบประเมินความสามารถในการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบโดยใช้เครื่องหมายผลการวิจัยพบว่า หลังจากที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน เด็กปฐมวัยมีผลคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน--ไทย--กำแพงเพชร | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--ไทย--กำแพงเพชร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาปฐมวัย--ไทย--กำแพงเพชร | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานที่มีต่อความสามารถ ในการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย โรงเรียนบ้านวังประดา จังหวัดกำแพงเพชร | th_TH |
dc.title.alternative | Effect of phenomenon-based learning on problem solving abilities of Preschool Children Ban Wang Prada School Kamphaeng Phet Province | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to compare the problem-solving abilities of early childhood children before and after using phenomenon-based learning. The study sample consists of early childhood children’s boys and girls aged 5-6 years, currently enrolled in the third year of kindergarten, first semester, academic year 2566, at Ban Wang Prada School. Kamphaeng Phet Province, totaling 20 individuals obtained by group random sampling. Research tools include: 1) phenomenon-based learning experience provision plans, and 2) Assessment of problem-solving abilities of early childhood children. Statistics used in data analysis are mean, standard deviation. and testing using markers.The results showed that after receiving learning using phenomena as a basis early childhood children had significantly higher problem-solving scores compared to before learning interventions, with a statistically significance level of .01. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2612100020.pdf | 1.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.