กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13081
ชื่อเรื่อง: ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานที่มีต่อความสามารถ ในการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย โรงเรียนบ้านวังประดา  จังหวัดกำแพงเพชร
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Effect of phenomenon-based learning on problem solving abilities of Preschool Children Ban Wang Prada School Kamphaeng Phet Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: กันตวรรณ มีสมสาร
นันทินี ขวัญมา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี
การเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน--ไทย--กำแพงเพชร
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--ไทย--กำแพงเพชร
การศึกษาปฐมวัย--ไทย--กำแพงเพชร
วันที่เผยแพร่: 2566
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาของ เด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ เด็กปฐมวัยชาย-หญิง ที่มีอายุ ระหว่าง 5 - 6 ปี ซึ่งกำลังศึกษาระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566  โรงเรียนบ้านวังประดา จังหวัดกำแพงเพชร จำนวน 20 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย  1) แผนการจัดประสบการณ์โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน 2) แบบประเมินความสามารถในการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบโดยใช้เครื่องหมายผลการวิจัยพบว่า หลังจากที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน  เด็กปฐมวัยมีผลคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
รายละเอียด: การศึกษาเฉพาะกรณี (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13081
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2612100020.pdf1.3 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น