Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13099
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงเดือน สุวรรณจินดาth_TH
dc.contributor.authorชนิศกาญจน์ มั่นคงth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:24:39Z-
dc.date.available2025-01-24T08:24:39Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13099en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการสร้างแบบจำลองกับนักเรียนที่ได้เรียนแบบปกติ เรื่อง สารชีวโมเลกุล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพระนารายณ์ จังหวัดลพบุรี และ 2) ศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนภายหลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการสร้างแบบจำลอง เรื่อง สารชีวโมเลกุล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพระนารายณ์ จังหวัดลพบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพระนารายณ์ จังหวัดลพบุรี จำนวน 2 ห้องเรียน มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 76 คน ประกอบด้วยนักเรียนกลุ่มทดลองจำนวน 38 คน และกลุ่มควบคุมจำนวน 38 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการสร้างแบบจำลอง 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 3) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา และ 4) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารชีวโมเลกุล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) คะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการสร้างแบบจำลองสูงกว่านักเรียนที่ได้เรียนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการสร้างแบบจำลองหลังเรียนกับทดสอบหลังเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์ ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--ลพบุรีen
dc.subjectสารชีวโมเลกุล--แบบจำลองen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการสร้างแบบจำลองที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและความคงทนในการเรียนรู้ เรื่อง สารชีวโมเลกุล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพระนารายณ์ จังหวัดลพบุรีth_TH
dc.title.alternativeEffects of 5Es Inquiry Instruction Together with Modeling on Problem Solving Ability and Learning Retention in the Topic of Biomolecules of Grade 10 Students at Pranarai School in Lopburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to 1) compare the problem solving ability of grade 10 students at Pranarai school in Lopburi province learning through the 5Es inquiry instruction together with modeling with that of the students learning through the traditional teaching in the topic of biomolecule, and 2) investigate learning retention of the of grade 10 students at Pranarai school in Lopburi province after learning through the 5Es inquiry instruction together with modeling in the topic of biomolecule. The research sample consisted of 76 grade 10 students in two intact classrooms of Pranarai School in Lopburi province, 38 students in one classroom as the experimental group and 38 students in one classroom as the control group, obtained by cluster random sampling. The research instruments comprised 1) learning management plans basing on 5Es inquiry instruction together with modeling; 2) traditional learning management plans; 3) a problem solving ability test, and 4) a learning achievement test in the topic of biomolecule. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation and t-test.  The findings of this study were 1) the post-learning problem solving ability of the students learning through the 5Es inquiry instruction together with modeling was higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level of statistical significance; and 2) the learning retention of the students learning through the 5Es inquiry instruction together with modeling showed no significant difference between the post-learning phase and after two weeks, at the .05 level of statistical significance.en_US
dc.contributor.coadvisorจุฬารัตน์ ธรรมประทีปth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2622000285.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.