Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13106
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีรัตน์ อารีรักษ์สกุล ก้องโลกth_TH
dc.contributor.authorชวัลลักษณ์ วิจาราณ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:24:42Z-
dc.date.available2025-01-24T08:24:42Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13106en_US
dc.descriptionการศึกษาเฉพาะกรณี (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้เกม และ 2) ศึกษาแรงจูงใจในการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้เกมกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2           ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนบ้านย่านตาขาว จังหวัดตรัง จำนวน 1 ห้อง มีนักเรียน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้เกม เรื่อง ร้อยละ 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละ และ 3) แบบวัดแรงจูงใจในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้เกมสูงกว่าก่อนได้รับการจัดกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้เกม นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีแรงจูงใจในการเรียนคณิตศาสตร์อยู่ในระดับสูงมากth_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectอัตราร้อยละth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--ไทย--ตรังth_TH
dc.titleการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้เกมที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแรงจูงใจในการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละ ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านย่านตาขาว จังหวัดตรังth_TH
dc.title.alternativeEffects of game-based mathematics learning activities on achievement and mathematics motivation in the topic of percentage of Grade 5 students at Ban Yantakhao School, Trang Provinceen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to 1) compare mathematics achievement on percentage of grade 5 students before and after using game-based learning activities and  2) study mathematics motivation of grade 5 students after using game-based learning activities.The research sample consists of 30 grade 5 students in the second semester of the academic year 2023 at Banyantakhao School in Trang Province obtained by cluster random sampling. The employed research instruments consisted of 1) mathematics learning management plans with game-based learning activities on percentage; 2) a mathematics achievement test on percentage and 3) a motivation aassessment in mathematics learning. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test.The research findings indicated that: 1) mathematics achievement in the topic of percentage of grade 5 students after using game-based learning activities was higher than before learning with statistical significance at the .05 level and 2) mathematics motivation of grade 5 students after learning by using game-based activities was at a very high level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2622100481.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.