Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13112
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | NILOBOL LAOMEE | en |
dc.contributor | นิโลบล เหลามี | th |
dc.contributor.advisor | Chulalak Sorapan | en |
dc.contributor.advisor | จุฬาลักษณ์ โสระพันธ์ | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:24:44Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:24:44Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 2/11/2024 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13112 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to study 1) technological leadership of school administrators; 2) active learning management of teachers in schools; 3) the relationship between technological leadership of school administrators and active learning management of teachers in schools; and 4) technological leadership of school administrators affecting active learning management of teachers in schools. The research sample consisted of 297 teachers in schools under Nonthaburi Primary Educational Service Area Office 1, during the 2023 academic year obtained by stratified random sampling based on school size and then simple random sampling.The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table.The employed research instrument was a questionnaire on technological leadership of school administrators and active learning management of teachers in schools, with reliability coefficients of .97 and .98, respectively. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, Pearson correlation, and simple linear regression analysis. The research findings showed that 1) both the overall and specific aspects of technological leadership of the school administrators were rated at the high level. Arranged in order as follows: supporting the use of technology in measurement and evaluation, having a technological vision, being ethics in using technology, promoting the use of technology in teaching and learning, and utilizing technology in management; 2) both the overall and specific aspects of active learning management of the teachers in the schools were rated at the highest level. Arranged in order as follows: learning design, learning management through thinking process and hands-on activities, authentic learning assessment, providing a conducive learning environment and the use and development of media, technological innovations for learning; 3) technological leadership of the school administrators correlated positively with active learning management of the teachers in the schools, which was significant at the .01 level of statistical significance; and 4) technological leadership of the school administrators affected active learning management of the teachers in the schools, which was significant at the .01 level of statistical significance; and had a predictive coefficient of .462. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา 2) การจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูในสถานศึกษา 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษากับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูในสถานศึกษา และ 4) ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูในสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรีเขต 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 297 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน จากนั้นสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษาและสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูในสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 และ .98 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นอย่างง่ายผลการวิจัย พบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับดังนี้ ด้านการสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีในการวัดและประเมินผล ด้านการมีวิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยี ด้านการมีจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี ด้านการสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน และด้านการใช้เทคโนโลยีในการบริหารงาน 2) การจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูในสถานศึกษา ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตามลำดับดังนี้ ด้านการออกแบบการเรียนรู้ ด้านการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและการลงมือปฏิบัติ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง ด้านการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และด้านการใช้และพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 3) ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูในสถานศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 4) ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูในสถานศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์เท่ากับ .462 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยี ผู้บริหารสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้เชิงรุก ประถมศึกษา | th |
dc.subject | Technological leadership | en |
dc.subject | School administrator | en |
dc.subject | Active learning management of teacher | en |
dc.subject | Primary education | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | Technological Leadership of School Administrators Affecting Active Learning Management of Teachers in Schools under Nonthaburi Primary Educational Service Area Office 1 | en |
dc.title | ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Chulalak Sorapan | en |
dc.contributor.coadvisor | จุฬาลักษณ์ โสระพันธ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | [email protected] | |
dc.contributor.emailcoadvisor | [email protected] | |
dc.description.degreename | Master of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description.degreename | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Master of Education (Educational Administration) | en |
dc.description.degreediscipline | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2622300354.pdf | 3.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.