Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13114
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชาติ พ่วงสมจิตร์th_TH
dc.contributor.authorมณีอมรินทร์ พีรพิชญกุลth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:24:45Z-
dc.date.available2025-01-24T08:24:45Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13114en_US
dc.descriptionการศึกษาเฉพาะกรณี (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา (2) ทักษะดิจิทัลของข้าราชการครู และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับทักษะดิจิทัลของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำภู กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ข้าราชการครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำภู จำนวน 321 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นจำแนกตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาและทักษะดิจิทัลของข้าราชการครู มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.96 และ 0.95 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การจูงใจและสร้างแรงบันดาลใจ การทำงานเป็นทีม การมีวิสัยทัศน์นวัตกรรม การบริหารความเสี่ยง การมีความคิดสร้างสรรค์ การสร้างบรรยากาศแห่งองค์การนวัตกรรม และการมีกลยุทธ์นวัตกรรม (2) ทักษะดิจิทัลของข้าราชการครู โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ความปลอดภัยทางดิจิทัล การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การสื่อสารและการทำงานร่วมกัน การรู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยีดิจิทัล และการสร้างสรรค์สื่อและเนื้อหาทางดิจิทัล และ (3) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับทักษะดิจิทัลของข้าราชการครู ในภาพรวมอยู่ในระดับสูงที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .669th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม ทักษะดิจิทัล มัธยมศึกษาth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษา--ไทย--หนองบัวลำภูth_TH
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้บริหารth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา กับทักษะดิจิทัลของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำภูth_TH
dc.title.alternativeRelationship between innovation leadership of school administrators and digital skills of teachers under the Secondary Educational Service Area Office Loei Nong Bua Lam Phuen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the level of innovative leadership of school administrators; (2) the digital skills level of teachers and (3) the relationship between innovative leadership of school administrators and the digital skills of teachers under the secondary educational service area office Loei Nong Bua Lam Phu.The research sample consisted of 321 teachers who were teaching in schools under the secondary educational service area office Loei Nong Bua Lam Phu, obtained by stratified random sampling based on school size. The employed research instrument was a questionnaire on innovative leadership of school administrators and the digital skills of teachers, with reliability coefficients of 0.96 and 0.95, respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson correlation coefficient.Research findings showed that (1) both the overall and specific aspects of innovative leadership of administrators of schools were rated at the high level, and the specific aspects could be ranked in order from top to bottom as follows: the inspiration and motivation, the teamwork, the innovative vision, the innovative risk taking, the innovative creative, the creation of an atmosphere of innovation organization, and the innovative strategy, respectively; (2) both the overall and specific aspects of digital skills of teachers were rated at the high level, and specific aspects could be ranked in order from top to bottom as follows: the digital safety, the digital technology usage, the communication and collaboration, the digital media and technology literacy and the digital media and content creation, respectively; and (3) the overall innovative leadership of administrators of schools correlated positively with the overall digital skills of teachers at the high level (r = .669), which was significant at the .01 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2622300529.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.