Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13127
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAPHINYA PHIMPHASAENGen
dc.contributorอภิญญา พิมพาแสงth
dc.contributor.advisorDuongdearn Suwanjindaen
dc.contributor.advisorดวงเดือน สุวรรณจินดาth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:24:51Z-
dc.date.available2025-01-24T08:24:51Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued1/11/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13127-
dc.description.abstractThis research aimed to 1) compare the science learning achievement of grade 9 students before and after learning by using the STAD cooperative learning technique in the topic of ecosystems and biodiversity, 2) compare the science learning achievement of grade 9 students after learning by using the STAD cooperative learning technique in the topic of ecosystems and biodiversity with the 70 percent criterion, and 3) study the attitudes toward science of grade 9 students learning by using the STAD cooperative learning technique in the topic of ecosystems and biodiversity.The sample group was 32 grade 9 students from Sasikarnwittaya school, Udon Thani province, in the first semester of the academic year 2023, obtained from cluster random sampling. The research instruments used were 1) lesson plans for cooperative learning using the STAD technique in the topics of ecosystems and biodiversity, 2) a learning achievement test in the topics of ecosystems and biodiversity, and 3) an attitude toward science measurement form. Statistics employed for data analysis were means, standard deviations, and t-test. The research findings revealed that 1) the science learning achievement of grade 9 students after learning by using the STAD cooperative learning technique in the topics of ecosystems and biodiversity was higher than before learning at the .05 level of statistical significant, 2) the science learning achievement of the students after learning was higher than the 70 percent criterion at the .05 level of statistical significant, and 3) the attitudes toward science of the students after learning were at a satisfactory level.en
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพก่อนเรียนและหลังเรียน 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 3) ศึกษาเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนศศิกานต์วิทยา จังหวัดอุดรธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จาก 1 ห้องเรียน จำนวน 32 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ และ 3) แบบวัดเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฎว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05  2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และ 3) เจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียนอยู่ในระดับดีth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD  ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์th
dc.subjectCooperative learningen
dc.subjectSTAD techniqueen
dc.subjectEcosystems and biodiversityen
dc.subjectLearning achievementen
dc.subjectAttitudes toward scienceen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Effects of Using STAD Cooperative Learning Technique in the Topic of Ecosystem and Biodiversity on Learning Achievement and Attitudes Toward Science of Grade 9 Students in Sasikarnwittaya School in Udon Thani Provinceen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนศศิกานต์วิทยา จังหวัดอุดรธานีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorDuongdearn Suwanjindaen
dc.contributor.coadvisorดวงเดือน สุวรรณจินดาth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Science Education (Master of Education(Science Education))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Science Education)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา)th
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2632000424.pdf7.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.