Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13132
Title: The Effects of Learning Management Based on Eco – School Guidelines in the Topic of Environmental Problems in Surin Province on Environmental Attitude of Grade 4 Students at Anubanprasatsuksakhan School, Surin Province
ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางอีโคสคูล เรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อมใน จังหวัดสุรินทร์ ที่มีต่อเจตคติด้านสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลปราสาทศึกษาคาร จังหวัดสุรินทร์
Authors: THIDA KIATTIWONGKHAJORN
ธิดา เกียรติวงศ์ขจร
Walai Isarankura Na Ayudhaya
วลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา
Sukhothai Thammathirat Open University
Walai Isarankura Na Ayudhaya
วลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา
[email protected]
[email protected]
Keywords: การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางอีโคสคูล  เจตคติ  สิ่งแวดล้อม  สังคมศึกษา  ประถมศึกษา
Learning Management Based on Eco – School Guidelines
Attitude
Environmental
Social studies
Primary Education
Issue Date:  23
Publisher: Sukhothai Thammathirat Open University
Abstract: The purpose of this study was to compare the environmental attitude before and after using Learning Management Based on Eco – School Guidelines in the topic of Environmental Problems in Surin Province of Grade 4 Students at Anubanprasatsuksakhan School, Surin Province                  The research sample consisted of 38 Grade 4 students who studied in the second semester of the academic year 2023 at Anubanprasatsuksakhan School, Surin Province, obtained by cluster sampling. The research instruments were 1) 6 lesson plans for 13 hours using Learning Management Based on Eco – School Guidelines in the topic of Environmental Problems in Surin Province and 2) Environmental Attitude test, with reliability coefficients of 0.71 Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test.      The research finding showed that the post - environmental attitude of the students who learned under the Learning Management based on Eco – School guidelines was higher than their pre - environmental attitude at the .05 level of statistical significance.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบเจตคติด้านสิ่งแวดล้อมก่อนและหลังเรียน โดยใช้การเรียนรู้ตามแนวทางอีโคสคูล เรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อมในจังหวัดสุรินทร์ ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลปราสาทศึกษาคาร จังหวัดสุรินทร์      กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลปราสาทศึกษาคาร  ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 38 คน ได้มาโดยสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนจัดการเรียนรู้ตามแนวทางอีโคสคูล เรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อมในจังหวัดสุรินทร์ จำนวน 6 แผน รวม 13 ชั่วโมง และ 2) แบบวัดเจตคติด้านสิ่งแวดล้อม มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.71  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า เจตคติด้านสิ่งแวดล้อมของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางอีโคสคูล หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13132
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2632100083.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.