Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13134
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธนรัชฏ์ ศิริสวัสดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ปภาษิต อุทธิยา | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:24:53Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:24:53Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13134 | en_US |
dc.description | การศึกษาเฉพาะกรณี (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง นิทานและตำนานพื้นบ้านจังหวัดเชียงราย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย และ 2) ตรวจสอบคุณภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมที่สร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการสอนภาษาไทย จำนวน 3 คน และนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย จำนวน 10 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ 1) แบบประเมินคุณภาพหนังสืออ่านเพิ่มเติมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และ2) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง นิทานและตำนานพื้นบ้านจังหวัดเชียงราย ประกอบด้วยเนื้อหา 15 บท ได้แก่ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตำนานและนิทานพื้นบ้าน บทที่ 2 แมงสี่หู ห้าตา บทที่ 3 ถ้ำหลวง ขุนน้ำนางนอน บทที่ 4 เวียงหนองหล่ม บทที่ 5 เต่าน้อยอองคำ บทที่ 6 พระแก้วมรกตแดนล้านนา บทที่ 7 พระธาตุเก้าจอม บทที่ 8 พระธาตุแม่ย่าหม่อน ศรัทธาพญานาค บทที่ 9 ปลาบึกแม่น้ำโขง บทที่ 10 ปู่ล่ะหึ่ง บรรพบุรุษร่างยักษ์แห่งลุ่มน้ำของ บทที่ 11 เวียงกาหลงบทที่ 12 เวียงแก่น บทที่ 13 ตำมิละ เชียงของ บทที่ 14 เวียงสี่ตวง และบทที่ 15 ชื่อบ้านนามเมืองเวียงเชียงราย แต่ละบทมีภาพประกอบ คำอธิบายศัพท์ และกิจกรรมท้ายบท และ (2) ผลการตรวจสอบคุณภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติม พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่าหนังสือดังกล่าวในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนนักเรียนเห็นว่าหนังสือดังกล่าวในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | หนังสืออ่านประกอบ | th_TH |
dc.subject | นิทาน--ไทย--เชียงราย | th_TH |
dc.title | การสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง นิทานและตำนานพื้นบ้านจังหวัดเชียงราย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย | th_TH |
dc.title.alternative | Construction of a reading enhancement book entitled “Folktale and Legend of Chiang Rai Province” for Grade 6 Students at Anuban Wiangkaen School in Chiang Rai Province | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this independent study were to 1) construct a reading enhancement book entitled “Folktale and Legend of Chiang Rai Province” for Grade 6 students at Anuban Wiangkaen School in Chiang Rai province; and 2) verify quality of the constructed reading enhancement book. The research sample consisted of three experts on Thai language teaching and 10 Grade 6 students of Anuban Wiangkaen School in Chiang Rai province, all of whom were purposively selected. The employed research instruments were 1) a reading enhancement book quality evaluation form for the experts, and 2) a questionnaire on students’ opinions toward the reading enhancement book. Statistics employed for data analysis were the mean and standard deviation.Results of this study were as follows: (1) the constructed reading enhancement book entitled “Folktale and Legend of Chiang Rai Province” had the contents comprising 15 chapters as follows: Chapter 1: Preliminary Knowledge on Legend and Folktale; Chapter 2: Insects with Four Ears and Five Eyes; Chapter 3: Tham Luang Khun Nam Nang Non Cave; Chapter 4: Wiang Nong Lom; Chapter 5: Little Aung Kham Turtle; Chapter 6: The Emerald Buddha of Lanna; Chapter 7: Phra That Kao Chom Pagoda; Chapter 8: Phra That Mae Ya Mon Sattha Phaya Nak Pagoda; Chapter 9: Giant Catfish of Mekong River; Chapter 10: Lahueng Grandfather, the Giant Ancestor of Mekong River Basin; Chapter 11: Wiang Kalong; Chapter 12: Wiang Kaen: Chapter 13: Tammila, Chiang Khong; Chapter 14: Wiang Siduang; and Chapter 15: Place and Town Names of Wiang Chiang Rai; each chapter had illustrations, glossary and end-of-chapter activities; and (2) regarding quality verification of the constructed reading enhancement book, it was found that the experts had opinions that the reading enhancement book as a whole was appropriate at the highest level, while the students had opinions that the reading enhancement book as a whole was appropriate at the high level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2632100224.pdf | 14.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.