Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13187
Title: The Effects of Geographic Inquiry Process in the Topic of the Impacts of Global Geographical Changes on Critical Thinking Ability of Grade 12 Students at Datdaruni School, Chachoengsao Province
ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการทางภูมิศาสตร์ เรื่อง ผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก ที่มีต่อความสามารถ ในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6  โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา
Authors: CHIRASAK KHOTCHASI
จิระศักดิ์ คชสีห์
Darunee Jumpathong
ดรุณี จำปาทอง
Sukhothai Thammathirat Open University
Darunee Jumpathong
ดรุณี จำปาทอง
[email protected]
[email protected]
Keywords: กระบวนการทางภูมิศาสตร์  ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ  มัธยมศึกษา
Geographic inquiry process
Critical thinking ability
Secondary education
Issue Date:  14
Publisher: Sukhothai Thammathirat Open University
Abstract: This research aims to compare critical thinking ability before and after learning about the impacts of Global Geographical Changes among 12th grade students in secondary school by using Geographic Inquiry Process.The sample group consisted of 25 grade 12 students from one classroom at Daddarunee School in Chachoengsao Province, , obtained by cluster random sampling. The research tools included: 1) lesson plans using Geographic Inquiry Process, and 2) a critical thinking ability assessment tool. The statistical methods used for data analysis included mean, standard deviation, and t-test.The research findings indicated that the average critical thinking ability scores of the grade 12 students before and after learning were 13.56 and 25.32, respectively. It was found that students' critical thinking ability after learning was significantly higher than before learning at the .05 level of statistical significance.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการทางภูมิศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน 25 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการทางภูมิศาสตร์ และ 2) แบบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเรียนและหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 13.56 และ 25.32 ตามลำดับ     โดยนักเรียนมีความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13187
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2642101170.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.