Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13192
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPOT SOMBOONen
dc.contributorพส สมบูรณ์th
dc.contributor.advisorChulalak Sorapanen
dc.contributor.advisorจุฬาลักษณ์ โสระพันธ์th
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:20Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:20Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued17/7/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13192-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to study (1) the skills of school administrators in the 21st Century; (2) the learning management of teachers in schools; (3) the relationship between the skills of school administrators in the 21st Century and the learning management of teachers in schools; and (4) the skills of school administrators in the 21st Century that affect the teachers’ learning management in schools under the Office of Khon Kaen Primary Education Service Area 5. The research sample consisted of 327 official teachers in schools under the Office of Khon Kaen Primary Education Service Area 5, obtained by stratified random sampling based on the division of the sample according to the proportion of the official teacher population in each of districts. The sample size was calculated using G*Power Program.  The employed research instrument was a rating scale questionnaire on the skills of school administrators in the 21st Century, with reliability coefficient of .98, and on the learning management of teachers in schools, with reliability coefficient of .97.  Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson correlation, and stepwise multiple regression analysis. The research findings indicated that (1) the skills of the school administrators in the 21st Century as a whole was rated at the high level; the specific skills of the school administrators could be ranked from top to bottom based on their rating means as follows: the skill of vision; the skill of creative thinking; the skill of human relationship; the skill of communication; and the skill of digital technology, respectively; (2) the overall learning management of the teachers in the schools was rated at the high level; the specific aspects of the teachers’ learning management could be ranked from top to bottom based on their rating means as follows: the aspect of using the media in learning management; the aspect of organizing the learner-centered learning activities; the aspect of measurement and evaluation of learning; the aspect of determination of learning objectives; and the aspect of using the curriculum in learning management, respectively; (3) the skills of the school administrators in the 21st Century correlated positively with the learning management of the teachers in the schools, with the correlation coefficients being at the moderate level to the rather high level, which were significant at the .01 level of statistical significance; and (4) the skills of the school administrators in the 21st Century affecting the learning management of the teachers in the schools were the four following skills: the skill of creative thinking, the skill of communication, the skill of digital technology, and the skill of human relationship.  They could be combined to predict the learning management of the teachers in the schools by 44 percent, which was significant at the .05 level of statistical significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 2) การจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา 3) ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 กับการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา และ 4) ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย  ได้แก่ ข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 จำนวน 327 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากโปรแกรม G*Power จากนั้นสุ่มตัวอย่างโดยแบ่งขนาดตัวอย่างตามสัดส่วนประชากรข้าราชการครูในแต่ละอำเภอ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 และการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษามีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนผลการวิจัยพบว่า 1) ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ทักษะด้านวิสัยทัศน์ ทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ ทักษะด้านมนุษย์สัมพันธ์ ทักษะด้านการสื่อสาร และทักษะด้านเทคโนโลยีและดิจิทัล 2) การจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การใช้สื่อในการจัดการเรียนรู้ของครู การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เน้นที่ผู้เรียนสำคัญ การวัดและประเมินผล การกำหนดวัตถุประสงค์การจัดการเรียนรู้ และการใช้หลักสูตรในการจัดการเรียนรู้ 3) ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ตั้งแต่ระดับปานกลางถึงระดับค่อนข้างสูง และ 4) ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ ทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ ทักษะด้านการสื่อสาร ทักษะด้านเทคโนโลยีและดิจิทัล และทักษะด้านมนุษย์สัมพันธ์ ตามลำดับ และร่วมกันทำนายการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษาได้ร้อยละ 44 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.subjectศตวรรษที่ 21th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectประถมศึกษาth
dc.subjectSkill of school administrator; 21st Century; Learning management; Primary educationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Skills of School Administrators in the 21st Century that Affect Teachers’ Learning Management in Schools under the Office of Khon Kaen Primary Education Service Area 5en
dc.titleทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorChulalak Sorapanen
dc.contributor.coadvisorจุฬาลักษณ์ โสระพันธ์th
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Educational Administration)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2642300012.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.