Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13226
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTHANAT RUEANGPHANKUNen
dc.contributorธนัท เรืองพรรณกุลth
dc.contributor.advisorSopana Sudsomboonen
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์th
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:36Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:36Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued23/4/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13226-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study: 1) the actual and desired state of learning management to develop the quality of learners in the 21st century of schools; 2) the needs for the development of learning management to develop the quality of learners in the 21st century of schools; and 3) guidelines for the development of learning management to develop the quality of learners in the 21st century of schools under Samut Prakan primary educational service area office 2.The sample consisted of 59 schools under Samut Prakan Primary Educational Service Area Office 2, which were determined by using Krejcie and Morgan Table, and then obtained by stratified random sampling base on school size. Key informants included 295 teachers, 5 from each school, and 7 experts. The employed research instruments were a dual-response questionnaire on the actual and desirable state of learning management to develop the quality of learners in the 21st century of schools, with reliability coefficients of .92 and .93, respectively; and an interview form dealing with guidelines for the development of learning management to develop the quality of learners in the 21st century of schools. The research data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, modified PNI, and content analysis. The research finding were as follows: 1) the overall and each aspect of actual state of learning management to develop the quality of learners in the 21st century of schools were rated at the high level, while the overall and each aspect of desirable state of learning management to develop the quality of learners in the 21st century of schools were rated at the highest level; 2) the identified needs for the development of learning management to develop the quality of learners in the 2st century of schools were ranked from the highest to the lowest as follows: the active learning management aspect, the instructional supervision aspect, the media and technology promoting and supporting learning management aspect, the learning resources and local wisdom aspect, the curriculum development aspect, the teacher promotion and development aspect, and the learning management measurement and evaluation aspect; and 3) guidelines for development of learning management to develop the quality of learners in the 21st century of schools were the following: schools should promote and support teachers (1) to organize active learning by taking into account the characteristics and important skills of learners in the 21st century and create school network groups to exchange knowledge, techniques, and learning management methods, (2) to use the results of instructional supervision to develop learning management to be effective, by using professional learning community process to review, improve, correct, and develop teachers' teaching and learning, and (3) to use a research process to develop media and technology used in teaching and learning, and organize a contest for innovations, media and technology used in teaching and learning to exchange knowledge and apply the results for teaching and learning development.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา 2) ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา และ 3) แนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 จำนวน 59 แห่ง กำหนดขนาดโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ทำการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดสถานศึกษา โดยกำหนดให้ครูในสถานศึกษาเป็นผู้ให้ข้อมูลแห่งละ 5 คน รวมจำนวน 295 คน ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้เชี่ยวชาญจำนวน 7 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบตอบสนองคู่เกี่ยวกับสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 และ .91 ตามลำดับ และแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดัชนีความต้องการจำเป็น และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพที่เป็นจริงของการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา เรียงจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ด้านการนิเทศการจัดการเรียนการสอน ด้านสื่อและเทคโนโลยีที่ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ ด้านแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการพัฒนาหลักสูตร ด้านการส่งเสริมและพัฒนาครู และด้านการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ และ 3) แนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา ประกอบด้วย สถานศึกษาควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ครู (1) จัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยคำนึงถึงคุณลักษณะและทักษะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และสร้างกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เทคนิค และวิธีการจัดการเรียนรู้ (2) นำผลการนิเทศการจัดการเรียนการสอนมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ โดยการใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อทบทวน ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครู (3) ใช้กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน และจัดให้มีการประกวดนวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำผลที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectแนวทางการพัฒนา การบริหารการจัดการเรียนรู้ คุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ประถมศึกษาth
dc.subjectGuidelines for developmenten
dc.subjectLearning managementen
dc.subjectQuality of learners in the 21st centuryen
dc.subjectPrimary educationen
dc.subject.classificationMathematicsen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleGuidelines for Development of Learning Management to Develop the Quality of Learners in the 21st Century of Schools under Samut Prakan Primary Education Service Area Office 2en
dc.titleแนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSopana Sudsomboonen
dc.contributor.coadvisorโสภนา สุดสมบูรณ์th
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Educational Administration)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2652300100.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.