Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13235
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWARIT PAWEENBAMPENen
dc.contributorวริทธิ์ ปวีณบำเพ็ญth
dc.contributor.advisorSopana Sudsomboonen
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์th
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:41Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:41Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued7/11/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13235-
dc.description.abstractThis research aimed to study 1) the current state of digital organization; 2) the desired state of digital organization; 3) the needs for developing being a digital organization; and 4) guidelines of developing being a digital organization of Lampang Witthaya School, Lampang Province.The research population consisted of 2 school administrators, 28 teachers, a school staff representative, and 240 parents of students from grades 4 to 6, totaling 271 participants, that were purposive selected. The keys informants consist of 7 informants. The research instruments were a dual-response format on the current and desired states of being a digital organization, with reliability coefficients of .98 and .98, respectively, and a semi-structured interview dealing with the development guidelines for being a digital organization of Lampang Witthaya School. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, PNImodified, and content analysis.The research findings were as follows: 1) the current state of the school as a digital organization was at high level overall; 2) the desired state of the school as a digital organization was also at a high level overall; 3) the needs for developing being a digital organization of Lampang Witthaya School, ranked from highest to lowest, were digital organizational culture, data utilization for decision-making, use of digital technology in operations, digital leadership of administrators, and digital technology competency of students and parents; and 4) guidelines for developing a digital organization, indicated that schools should: (1) establish a clear vision and goals for the use of digital technology; (2) analyze strengths and weaknesses, formulate strategies, create operational plans, implement, and monitor the use of technology in school management in a systematic and continuous manner; (3) provide training and develop digital technology skills for administrators and relevant personnel; (4) foster a digital culture among all staff members; and (5) continuously develop and improve the structure, processes, and technology.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพปัจจุบันของการเป็นองค์กรดิจิทัล 2) สภาพ พึงประสงค์ของการเป็นองค์กรดิจิทัล 3) ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการเป็นองค์กรดิจิทัล และ  4) แนวทางการพัฒนาการเป็นองค์กรดิจิทัลของโรงเรียนลำปางวิทยา จังหวัดลำปางประชากรในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 2 คน, ผู้จัดการโรงเรียน จำนวน 1 คน ครู จำนวน 28 คน ตัวแทนบุคลากร 1 คน และตัวแทนผู้ปกครองระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึง ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 240 คน รวมทั้งสิ้น 271 คนโดยเลือกแบบเจาะจง ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 7 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบตอบสนองคู่เกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการเป็นองค์กรดิจิทัลของโรงเรียน มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 และ .98 ตามลำดับ และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการเป็นองค์กรดิจิทัลของโรงเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดัชนีความต้องการจำเป็น และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการเป็นองค์กรดิจิทัลของของโรงเรียนภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) สภาพที่พึงประสงค์ของการเป็นองค์กรดิจิทัลของโรงเรียนภาพรวมอยู่ในระดับมาก  3) ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการเป็นองค์กรดิจิทัลของโรงเรียน เรียงตามดัชนีความต้องการจำเป็นจากมากไปน้อย ดังนี้ วัฒนธรรมองค์กรดิจิทัล การใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการดำเนินงาน ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีดิจิทัลของผู้บริหาร และสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของนักเรียนและผู้ปกครอง และ 4) แนวทางการพัฒนาการเป็นองค์กรดิจิทัล พบว่าโรงเรียนควร (1) กำหนดวิสัยทัศน์และเป้าหมายในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้ชัดเจน (2) วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน กำหนดกลยุทธ์ วางแผนการดำเนินงาน ดำเนินงานและกำกับติดตามเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีในการบริหารโรงเรียนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง (3) จัดการฝึกอบรมและพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้กับผู้บริหารและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง (4) สร้างวัฒนธรรมดิจิทัลให้เกิดกับบุคลากรทุกฝ่าย และ (5) พัฒนาและปรับปรุงโครงสร้าง กระบวนการ เทคโนโลยี อย่างต่อเนื่องth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectแนวทางการพัฒนา องค์กรดิจิทัลth
dc.subjectGuidelines of developingen
dc.subjectDigital organizationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleGuidelines of Developing Being a Digital Organization of Lampang Witthaya School, Lampang Provinceen
dc.titleแนวทางการพัฒนาการเป็นองค์กรดิจิทัลของโรงเรียนลำปางวิทยา จังหวัดลำปางth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSopana Sudsomboonen
dc.contributor.coadvisorโสภนา สุดสมบูรณ์th
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Educational Administration)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2652300498.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.