Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13250
Title: | The Effect of Using the Guidance Activities Package Based on Bandura Concept to Enhance Public Mind of Grades 4-6 Students at Ban Tha Chang School in Nakhon Ratchasima Province ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดทฤษฎีแบนดูราเพื่อส่งเสริม จิตสาธารณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านท่าช้าง จังหวัดนครราชสีมา |
Authors: | JEERAPRAPA YONPHIMAI จีรประภา ยนต์พิมาย Wunlapa Sabaiying วัลภา สบายยิ่ง Sukhothai Thammathirat Open University Wunlapa Sabaiying วัลภา สบายยิ่ง [email protected] [email protected] |
Keywords: | ชุดกิจกรรมแนะแนว จิตสาธารณะ แนวคิดทฤษฎีแบนดูรา ประถมศึกษา Guidance activities package Public mind Bandura Concept Primary School |
Issue Date: | 14 |
Publisher: | Sukhothai Thammathirat Open University |
Abstract: | The objectives of this study were: 1) to compare the level of public mind of Grades 4 - 6 students before and after participating in the guidance activities package based on the Bandura concept to promote public mind, and 2) to study student satisfaction with participation in the guidance activities package based on Bandura's concept of promoting public mind.The sample comprised Grades 4–6 students from Ban Tha Chang School of Nakhon Ratchasima Province in 2024. Participants were selected based on their below-average scores on a public mind measure and voluntary participation in the program. Research instruments included a public-mindedness scale with a reliability coefficient 0.90, a guidance activities package based on Bandura's concept designed to enhance the public mind, and a satisfaction assessment. Data were analyzed using mean, standard deviation, and independent samples t-tests. The study findings revealed that: 1) when comparing the public-mindedness of the group that used the guidance activities package based on Bandura's concept, students showed significantly higher public-mindedness after using the guidance activities package, with statistical significance at the .05 level; .and 2) after participating in the activities, students expressed a high level of satisfaction with the guidance activities package based on Bandura's concept for promoting public-mindedness. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบระดับจิตสาธารณะของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ก่อนและหลังกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมจิตสาธารณะ และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดของแบนดูราเพื่อส่งเสริมจิตสาธารณะ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ของโรงเรียนบ้านท่าช้าง จังหวัดนครราชสีมา ปีการศึกษา 2567 ได้มาโดยการใช้คะแนนการวัดจิตสาธารณะที่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย จำนวน 61 คน และนักเรียนสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบวัดจิตสาธารณะที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .90 2) ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดทฤษฎีแบนดูราเพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะ และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการเปรียบเทียบจิตสาธารณะของกลุ่มที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดทฤษฎีแบนดูรานักเรียนมีจิตาธารณะสูงว่าก่อนใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) หลังการเข้าร่วมกิจกรรมนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดทฤษฎีแบนดูราเพื่อส่งเสริมจิตสาธารณะในระดับมาก |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13250 |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2652800190.pdf | 1.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.