Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13263
Title: | Factors Affecting Success of Improvement Project Management of Large Shopping Center’s Building ปัจจัยที่มีผลต่อความสําเร็จของการบริหารจัดการโครงการปรับปรุงอาคารประเภทศูนย์การค้าขนาดใหญ่ |
Authors: | Wipawanee Rawangganpun วิภวานีภ์ ระวังงานพันธุ์ Pavin Chinachoti ภาวิน ชินะโชติ Sukhothai Thammathirat Open University Pavin Chinachoti ภาวิน ชินะโชติ [email protected] [email protected] |
Keywords: | ความสำเร็จ การบริหารจัดการ โครงการปรับปรุงอาคาร ศูนย์การค้าขนาดใหญ่ Success Management Building Improvement Project Large Shopping Center |
Issue Date: | 29 |
Publisher: | Sukhothai Thammathirat Open University |
Abstract: | This study aims to study (1) the perceived importance of 4M's management resources; (2) the level of success achieved in managing a large shopping center improvement project; and (3) 4M's management resources affecting success of improvement project management of large shopping center’s building. This study was quantitative research. The population consisted of 122 people involved in managing a large shopping center building improvement project within a company. The sample size was determined by Krejcie and Morgan's formula, resulting in a total of 93 participants selected by convenience sampling. The tool used for data collection was a questionnaire. The statistics utilized in the data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression values. The findings of the study revealed that: (1) the overall importance of the 4M's management resources was rated at the highest level. Considering each aspect, it was showed that personnel, materials and equipment, and management had the three highest mean scores. (2) The overall success of managing a large shopping center improvement project was rated at a high level. (3) Management, materials and equipment, and personnel factors significantly affected the success of managing a large shopping center building improvement project, with statistical significance at the 0.05 level, where these factors were capable of predicting variations in success, accounting for 54.40 percent. การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความสำคัญของทรัพยากรการบริหาร 4M’s (2) ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการโครงการปรับปรุงอาคารประเภทศูนย์การค้าขนาดใหญ่ (3) ทรัพยากรการบริหาร 4M’s ที่มีผลต่อความสําเร็จของการบริหารจัดการโครงการปรับปรุงอาคารประเภทศูนย์การค้าขนาดใหญ่ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการโครงการปรับปรุงอาคารประเภทศูนย์การค้าขนาดใหญ่ในบริษัทแห่งหนึ่ง จำนวน 122 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของเครจซี่และมอร์แกน ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 93 คน ใช้วิธีการสุ่ม แบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า (1) ปัจจัยทรัพยากรการบริหาร 4M’s โดยรวมมีความสำคัญอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ ด้านบุคลากร วัสดุอุปกรณ์ และการบริหารจัดการ (2) ความสำเร็จของการบริหารจัดการโครงการปรับปรุงอาคารประเภทศูนย์การค้าขนาดใหญ่ โดยรวมมีความสำเร็จอยู่ในระดับมาก และ (3) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ วัสดุ อุปกรณ์ และบุคลากรมีผลต่อความสําเร็จของการบริหารจัดการโครงการปรับปรุงอาคารประเภทศูนย์การค้าขนาดใหญ่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 สามารถพยากรณ์ความผันแปรความสำเร็จ คิดเป็นร้อยละ 54.40 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13263 |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2613002555.pdf | 1.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.