กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13270
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorประภาศรี พงศ์ธนาพาณิชth_TH
dc.contributor.authorทรรศิรัษฎิ์ ทองตาล่วงth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:17Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:17Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13270en_US
dc.descriptionการศึกษาเฉพาะกรณี (บท.ม. (การจัดการธุรกิจและการบริการ))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อการสื่อสารในสื่อโซเชียลมีเดียของอินฟูเอนเซอร์ (2) เปรียบเทียบการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ของผู้บริโภคใน เจเนอเรชั่น แซด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) อิทธิพลของอินฟูเอนเซอร์ ที่มีต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ของผู้บริโภคใน เจเนอเรชั่น แซดการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้คือ ผู้บริโภค เจเนอเรชั่น แซด ที่ทำการซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ซึ่งเป็นประชากรที่ไม่ทราบจำนวนที่ชัดเจน จำนวน 400 คน โดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม โดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิธีทดสอบสมมติฐาน โดยใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณผลการวิจัยพบว่า (1) ความคิดเห็นต่ออินฟลูเอนเซอร์ในการโฆษณาผลิตภัณฑ์ดูแลผิวหน้า พบว่าโดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ในด้านความดึงดูดใจ มีระดับความคิดเห็นสูงสุด รองลงมาคือ ด้านความเหมือนกับกลุ่มเป้าหมาย และน้อยที่สุดคือด้านความชำนาญเชี่ยวชาญ (2) ผู้ตอบแบบสอบถามที่มี สถานภาพ อาชีพในปัจจุบัน และ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) อินฟลูเอนเซอร์ในสื่อโซเชียลมีเดีย มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ของผู้บริโภคใน เจเนอเรชั่น แซด โดยที่มีความสัมพันธ์อยู่ในระดับมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสื่อโซเชียลมีเดีย การตัดสินใจเลือกซื้อ เครื่องสำอางth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาการจัดการธุรกิจและการบริการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleอิทธิพลของอินฟลูเอนเซอร์ในสื่อโซเชียลมีเดีย ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ของผู้บริโภคใน เจเนอเรชั่น แซดth_TH
dc.title.alternativeInfluencers influence on social media that affect the decision to buy cosmetic products of consumers in GEN Zen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการธุรกิจและการบริการ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) consumer opinions on communication through social media by influencers, (2) the comparison of cosmetic purchase decisions of Generation Z consumers based on personal factors, and (3) the influence of influencers on the cosmetic purchase decisions of Generation Z consumers.This independent study is a survey research, the population used in this study consists of Generation Z consumers who purchase cosmetic products, a population with an unspecified number, totaling 400 individuals. A convenience sampling method was employed to select the sample. The research instrument used was a questionnaire. Descriptive statistics were applied, including frequency, percentage, mean, and standard deviation. Hypothesis testing was conducted using inferential statistics, including one-way analysis of variance (ANOVA) and multiple regression analysis.The research findings reveal that (1) consumer opinions on influencers advertising skincare products were generally at a high level. When broken down by aspect, the highest level of opinion was in the area of attractiveness, followed by similarity to the target audience, and the lowest level was in the area of expertise. (2) Respondents with different marital status, current occupation, and average monthly income exhibited significantly different cosmetic purchase decisions at a statistical significance level of 0.05. (3) Influencers on social media have a significant influence on the cosmetic purchase decisions of Generation Z consumers, with a strong correlation at a statistical significance level of 0.05.en_US
dc.description.degreelevelปริญญาโทth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2623003650.pdf1.04 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น