Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13291
Title: | Marketing Mix Factors Affecting the Purchasing Decisions of Clothing through Online Markets by Personnel of the Chaiyaphum Provincial Health Office ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านตลาดออนไลน์ของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ |
Authors: | Pranee Pumraya ปราณี พุ่มระย้า Anothai Ngamvichaikit อโณทัย งามวิชัยกิจ Sukhothai Thammathirat Open University Anothai Ngamvichaikit อโณทัย งามวิชัยกิจ [email protected] [email protected] |
Keywords: | ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด การตัดสินใจในการเลือกซื้อ ตลาดออนไลน์ Marketing Mix Factors Purchasing Decision Online Market |
Issue Date: | 21 |
Publisher: | Sukhothai Thammathirat Open University |
Abstract: | The objectives of this study were: (1) to examine the demographic factors of personnel in the Chaiyaphum Provincial Health Office; (2) to investigate the marketing mix factors affecting the purchasing decisions of clothing through online markets by personnel in the Chaiyaphum Provincial Health Office; (3) to study the purchasing decisions of these personnel regarding clothing through online markets; (4) to compare the purchasing decisions based on various demographic factors among personnel in the Chaiyaphum Provincial Health Office; and (5) to analyze the impact of marketing mix factors on the purchasing decisions of clothing through online markets by personnel in the Chaiyaphum Provincial Health Office.This research employed a quantitative approach. The target population consisted of personnel in the Chaiyaphum Provincial Health Office, with the exact population size being unknown. A sample size of 400 was determined using W.G. Cochran’s formula and was selected through multi-stage sampling. Data were collected using a questionnaire. Statistical analyses included frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, One-way ANOVA, and multiple regression analysis.The study findings revealed that: (1) most respondents were female, aged between 21-30 years, married, holding a bachelor’s degree, employed as government officers, with an average monthly income of 20,001 - 30,000 baht; (2) the overall importance of marketing mix factors was rated as high; (3) the purchasing decisions of clothing through online markets by personnel in the Chaiyaphum Provincial Health Office were rated at a high level; (4) demographic factors such as age, marital status, educational level, type of personnel, and monthly income significantly influenced purchasing decisions at the 0.05 level, while gender differences did not have a significant effect; and (5) marketing mix factors, including product, price, distribution, promotion, people, and process, had a statistically significant impact on the purchasing decisions of clothing through online markets for personnel in the Chaiyaphum Provincial Health Office at the 0.05 level. These factors collectively accounted for 35.9% of the variance in purchasing decisions. การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ (2) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของเสื้อผ้าผ่านตลาดออนไลน์ (3) ศึกษาการตัดสินใจในการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านตลาดออนไลน์ของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ (4) เปรียบเทียบการตัดสินใจ ในการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านตลาดออนไลน์ของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (5) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านตลาดออนไลน์ของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิการศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ บุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน จึงกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของดับเบิลยู จี คอชแรน ได้จำนวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 – 30 ปี มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นบุคลากรประเภทข้าราชการและมีรายได้ต่อเดือน 20,001 – 30,000 บาท (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดโดยภาพรวม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (3) การตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าผ่านตลาดออนไลน์ของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดชัยภูมิโดยภาพรวม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (4) บุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิที่มีบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิที่มีอายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ประเภทบุคลากรและรายได้ต่อเดือนแตกต่างกันมีการตัดสินใจในการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านตลาดออนไลน์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในขณะที่เพศแตกต่างกัน มีการตัดสินใจในการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านตลาดออนไลน์ไม่แตกต่างกัน (5) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคคล ด้านกระบวนการส่งผลต่อการตัดสินใจในการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านตลาดออนไลน์ของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สามารถร่วมกันพยากรณ์การผันแปรของการตัดสินใจในการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านตลาดออนไลน์ของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ คิดเป็นร้อยละ 35.9 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13291 |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2633004292.pdf | 1.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.