Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13324
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | BENJAWAN SAINGAMIEM | en |
dc.contributor | เบ็ญจวรรณ ไทรงามเอี่ยม | th |
dc.contributor.advisor | Noppadol Udomwisawakul | en |
dc.contributor.advisor | นพดล อุดมวิศวกุล | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:37:30Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:37:30Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 11/10/2024 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13324 | - |
dc.description.abstract | This study aimed: (1) to study the situation in implementing the policy of the Office of the Attorney General in the administration of justice, (2) to analyze the factors related to the successful policy implementation of the Office of the Attorney General in administering justice, and (3) to propose guidelines for improving and developing the implementation of the policy of the Office of the Attorney General in the administration of justice.This study employed a mixed methods research approach, combining quantitative and qualitative methods. The quantitative study population comprised 2,023 central public prosecutors and court staffs. Using Taro Yamane's formula, the sample size was 334, selected via stratified random and accidental sampling. The research instrument was a questionnaire. Data analysis and statistics included percentage, mean, standard deviation, and Pearson's correlation coefficient. For the qualitative study, the population was 168 central public prosecutors. The sample consisted of 10 expert public prosecutors directly involved in the work, selected by purposive sampling. The research instrument was a structured in-depth interview for content analysis.The results of the study revealed that: (1)the major problems in implementing the Office of the Attorney General's policy on justice administration included resource management, organizational characteristics, and inter-organizational communication. (2) Various factors in policy implementation were positively correlated with the success of the Office of the Attorney General's policy implementation, with statistical significance at the 0.01 level. (3) The most important guidelines for improvement and development are as follows: 1. in terms of resource management, the number of personnel should be adjusted to ensure it is sufficient and appropriate for the workload. Skills and knowledge should be developed to enhance effectiveness, and personnel readiness for work should be prioritized. Additionally, the budget should be improved, and any deficiencies in materials, equipment, and facilities should be addressed. 2. In terms of communication, existing information technology should be improved and developed for greater efficiency by utilizing current applications more effectively. 3. In terms of organizational structure, it should be adjusted according to function by clearly defining the duties of each section to enhance the organization's administration. The structure should facilitate coordination and command by improving the horizontal or flat organizational model, as this is essential for effectively coordinating the work of agencies in the administration of justice. Additionally, public services should be improved by reducing the steps and time required for service, thereby accelerating the administration of justice. | en |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการณ์ในการนำนโยบายการบริหารงานของสำนักงานอัยการสูงสุด ด้านการอำนวยความยุติธรรมไปปฏิบัติ (2) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในการนำนโยบายการบริหารงานของสำนักงานอัยการสูงสุดด้านการอำนวยความยุติธรรมไปปฏิบัติสู่ความสำเร็จ (3) เสนอแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาการนำนโยบายการบริหารงานของสำนักงานอัยการสูงสุดด้านการอำนวยความยุติธรรมไปปฏิบัติ การศึกษาครั้งนี้ใช้การวิจัยแบบผสมวิธี การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ ข้าราชการฝ่ายอัยการและบุคลากรที่ปฏิบัติงานสำนักงานคดีในส่วนกลาง จำนวน 2,023 คน โดยใช้การคำนวณด้วยสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 334 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิและแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติ ได้แก่ การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร คือ ข้าราชการสำนักงานคดีในส่วนกลาง จำนวน 168 คน โดยผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ข้าราชการฝ่ายอัยการผู้เกี่ยวข้องโดยตรงที่มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงาน โดยมีจำนวน 10 คน และใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเป็นการสัมภาษณ์ในเชิงลึกเพื่อนำมาวิเคราะห์เนื้อหาผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาที่สำคัญของการนำนโยบายการบริหารงานของสำนักงานอัยการสูงสุดด้านการอำนวย ความยุติธรรมไปปฏิบัติ ได้แก่ ทรัพยากรในการจัดการ ลักษณะขององค์การ และการสื่อสารระหว่างองค์การ (2) ปัจจัยด้านต่าง ๆ ในการนำนโยบายไปปฏิบัติ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความสำเร็จของการนำนโยบายการบริหารงานของสำนักงานอัยการสูงสุดไปปฏิบัติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (3) แนวทางการปรับปรุงและพัฒนา ที่สำคัญที่สุดมีดังนี้ 1. ด้านทรัพยากรในการจัดการควรปรับปรุงอัตรากำลังบุคลากรให้เพียงพอและเหมาะสมกับปริมาณงาน พัฒนาทักษะหรือองค์ความรู้ให้มีประสิทธิภาพ สนับสนุนในด้านความรู้ ของบุคลากร รวมทั้งการพัฒนาความพร้อมของบุคลากรเพื่อใช้ในการทำงาน ปรับปรุงงบประมาณ ปรับปรุงวัสดุ อุปกรณ์ และสถานที่ต่าง ๆ ที่มีความขาดแคลน 2. ด้านการสื่อสารควรปรับปรุงพร้อมพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นสำหรับการปฏิบัติงานโดยใช้แอปพลิเคชัน ที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 3. ด้านโครงสร้างองค์การควรปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์การตามหน้าที่โดยการกำหนดหน้าที่ในแต่ละส่วนอย่างชัดเจน เพื่อให้การบริหารงานภายในองค์การให้มีความเหมาะสม ปรับโครงสร้างให้ง่ายต่อการประสานงานและบังคับบัญชาโดยการปรับปรุงโครงสร้างองค์การแนวนอนหรือแบน เนื่องจากโครงสร้างองค์การจะต้องมีความเหมาะสมต่อการดำเนินงานด้านการประสานความร่วมมือของหน่วยงานในการอำนวยความยุติธรรม ปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชนโดยลดขั้นตอนและระยะเวลาในการให้บริการทำให้การอำนวยความยุติธรรมรวดเร็ว | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | การนำนโยบายไปปฏิบัติ นโยบายการบริหารงานของสำนักงานอัยการสูงสุด การอำนวยความยุติธรรม สำนักงานอัยการสูงสุด | th |
dc.subject | Implementation of the Policy | en |
dc.subject | Prosecution Policy | en |
dc.subject | Administration of Justice | en |
dc.subject | Office of the Attorney General | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Administrative and support service activities | en |
dc.title | Administrative Policy Implementation of Office of the Attorney General regarding the Administration of Justice | en |
dc.title | การนำนโยบายการบริหารงานของสำนักงานอัยการสูงสุดด้านการอำนวยความยุติธรรมไปปฏิบัติ | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Noppadol Udomwisawakul | en |
dc.contributor.coadvisor | นพดล อุดมวิศวกุล | th |
dc.contributor.emailadvisor | [email protected] | |
dc.contributor.emailcoadvisor | [email protected] | |
dc.description.degreename | Master of Public Administration (M.P.A.) | en |
dc.description.degreename | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ (รป.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Master of Public Administration | en |
dc.description.degreediscipline | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2643002351.pdf | 2.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.