Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13345
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคมth_TH
dc.contributor.authorจิตสุภา สุขนิรัญth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:36Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:36Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13345en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ในการให้บริการแอปพลิเคชัน ThaID ของสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร (2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับผลสัมฤทธิ์ในการให้บริการแอปพลิเคชัน ThaID ของสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร  (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ กับระดับผลสัมฤทธิ์ในการให้บริการแอปพลิเคชัน ThaID ของสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร และ (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะแนวทางในการเพิ่มผลสัมฤทธิ์การให้บริการแอปพลิเคชัน ThaID ของสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานครการศึกษานี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ ประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป  ไม่จำกัดเพศ ที่มาใช้บริการสำนักงานเขตสวนหลวง จำนวน 3,688 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของ  ทาโร ยามาเน่ ได้จำนวน 361 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สันผลการศึกษาพบว่า (1) ภาพรวมของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ในการให้บริการแอปพลิเคชัน ThaID ของสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการอำนวยความสะดวกและด้านการสื่อสารของหน่วยงาน (2) ภาพรวมของระดับผลสัมฤทธิ์ในการให้บริการแอปพลิเคชัน ThaID ของสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ กับผลสัมฤทธิ์ในการให้บริการแอปพลิเคชัน ThaID ของสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร เป็นไปทิศทางเดียวกันในระดับสูง อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) ปัญหาที่พบ คือ จำนวนบุคลากรมีจำกัด สิ่งอำนวยความสะดวกไม่เพียงพอ นโยบายไม่ตอบสนองความต้องการของประชาชน เจ้าหน้าที่บางท่านไม่สามารถตอบคำถามข้อสงสัยของประชาชนได้ ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมน้อย ข้อเสนอแนะได้แก่ การจัดอำนวยความสะดวกให้ทั่วถึง รวดเร็ว อุปกรณ์ในการปฏิบัติงานมีความพร้อม เจ้าหน้าที่ควรมีข้อมูลตอบข้อซักถามได้ และการประชาสัมพันธ์ในสถานที่ต่างๆth_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ การให้บริการ แอปพลิเคชัน ThaID สำนักงานเขตสวนหลวงth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาเฉพาะกรณี--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ในการให้บริการแอปพลิเคชัน ThaID ของสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeFactors relating the achievement of ThaID application service of Suan Luang District Office, Bangkok Metropolitan Administrationen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to (1) study the opinions regarding factors relating the achievement of ThaID application service of Suan Luang District Office, Bangkok Metropolitan Administration (2) study the opinions regarding achievement level of ThaID application service of Suan Luang District Office, Bangkok Metropolitan Administration  (3) study the relationship between factors and achievement of ThaID application service of Suan Luang District Office, Bangkok Metropolitan Administration; and (4) study problems and recommend guidelines for enhancing the achievement of ThaID application service of Suan Luang District Office, Bangkok Metropolitan Administration. This study followed quantitative research model. The population was people aged over 18 years old, no gender restriction, totally 361 people who received public service at Suan Luang District Office, Bangkok Metropolitan Administration. The sampling method was convenience sampling. Research instrument for data collection was a structured questionnaire. Descriptive statistics for data analysis comprised of frequency, mean, percentage and standard deviation and inferential statistic employed Pearson Product Moment Correlation.The results of this study showed that (1) an overview of opinions regarding factors relating the achievement of ThaID application service of Suan Luang District Office, Bangkok Metropolitan Administration was at high level. The highest mean was the service in terms of facility and communication (2) an overview of opinions regarding achievement level of ThaID application service of Suan Luang District Office, Bangkok Metropolitan Administration was at the highest level. The highest mean was the effective use of resources (3) the relationship between factors and achievement of ThaID application service of Suan Luang District Office, Bangkok Metropolitan Administration was positively at high level at statistically significant at 0.05 level; and (4) problems were found that the limitation of personnel, insufficient facilities, not able to response the inquiries to people, less of people’s participation. The recommendations were the provision of sufficient accessible and fast of facilities, readiness of equipment, information and knowledge of officials and public relation medias in various places.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2653000071.pdf2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.